Qurani Kərimin mənaca tərcüməsi - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - Tərcumənin mündəricatı


Mənaların tərcüməsi Ayə: (29) Surə: ət-Tovbə
قَٰتِلُواْ ٱلَّذِينَ لَا يُؤۡمِنُونَ بِٱللَّهِ وَلَا بِٱلۡيَوۡمِ ٱلۡأٓخِرِ وَلَا يُحَرِّمُونَ مَا حَرَّمَ ٱللَّهُ وَرَسُولُهُۥ وَلَا يَدِينُونَ دِينَ ٱلۡحَقِّ مِنَ ٱلَّذِينَ أُوتُواْ ٱلۡكِتَٰبَ حَتَّىٰ يُعۡطُواْ ٱلۡجِزۡيَةَ عَن يَدٖ وَهُمۡ صَٰغِرُونَ
โอ้บรรดาผู้ศรัทธา พวกเจ้าจงต่อสู้ กับบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาที่ไม่ศรัทธาต่ออัลลอฮ์ว่าเป็นพระเจ้าที่ไม่มีภาคีใดๆ สำหรับพระองค์ และไม่ศรัทธาต่อวันปรโลก และไม่ห่างไกลจากสิ่งที่อัลลอฮ์และเราะสูลห้ามไว้ จากซากสัตว์ที่ตายเอง เนื้อหมู เหล้าและดอกเบี้ย และไม่ปฏิบัติตามในคำบัญชาของอัลลอฮ์ ในบรรดาชาวยิวและคริสต์ จนกว่าพวกเขาจะจ่ายอัล-ญิซยะฮ์จากมือของพวกเขาเอง ในสภาพที่พวกเขาเป็นผู้ที่ต่ำต้อย
Ərəbcə təfsirlər:
Bu səhifədə olan ayələrdən faydalar:
• في الآيات دليل على أن تعلق القلب بأسباب الرزق جائز، ولا ينافي التوكل.
ในโองการดังกล่าวเป็นหลักฐานบ่งบอกว่า การที่หัวใจยึดเอาสาเหตุของการได้มาซึ่งปัจจัยยังชีพนั้นเป็นที่อนุญาตให้กระทำได้ โดยที่มันไม่ได้ขัดแย้งกับการมอบหมายต่ออัลลฮ์ (ตะวักกัล)

• في الآيات دليل على أن الرزق ليس بالاجتهاد، وإنما هو فضل من الله تعالى تولى قسمته.
ในโองการดังกล่าวเป็นหลักฐานบ่งบอกว่า การได้มาซึ่งปัจจัยยังชีพนั้นมิไช่ได้มาด้วยความพยายาม แต่เป็นความกรุณาของอัลลอฮ์ที่ทรงจัดการแบ่งมัน

• الجزية واحد من خيارات ثلاثة يعرضها الإسلام على الأعداء، يقصد منها أن يكون الأمر كله للمسلمين بنزع شوكة الكافرين.
การจ่ายอัล-ญิซยะฮ์ (ส่วย) เป็นหนึ่งในสามตัวเลือกที่อิสลามนำเสนอแก่ศัตรู เพื่อให้กิจการทั้งหมดอยู่ภายใต้การควบคุมของบรรดามุสลิมด้วยการปลดอำนาจของบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธา

• في اليهود من الخبث والشر ما أوصلهم إلى أن تجرؤوا على الله، وتنقَّصوا من عظمته سبحانه.
ความน่ารังเกียจและความชั่วร้ายที่มีในชาวยิวที่ผลักดันพวกเขาให้พวกเขามีความกล้าในการใส่ร้ายอัลลอฮ์และลดเกียรติความยิ่งใหญ่ของพระองค์

 
Mənaların tərcüməsi Ayə: (29) Surə: ət-Tovbə
Surələrin mündəricatı Səhifənin rəqəmi
 
Qurani Kərimin mənaca tərcüməsi - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - Tərcumənin mündəricatı

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

Bağlamaq