قۇرئان كەرىم مەنىلىرىنىڭ تەرجىمىسى - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - تەرجىمىلەر مۇندەرىجىسى


مەنالار تەرجىمىسى ئايەت: (82) سۈرە: سۈرە مائىدە
۞ لَتَجِدَنَّ أَشَدَّ ٱلنَّاسِ عَدَٰوَةٗ لِّلَّذِينَ ءَامَنُواْ ٱلۡيَهُودَ وَٱلَّذِينَ أَشۡرَكُواْۖ وَلَتَجِدَنَّ أَقۡرَبَهُم مَّوَدَّةٗ لِّلَّذِينَ ءَامَنُواْ ٱلَّذِينَ قَالُوٓاْ إِنَّا نَصَٰرَىٰۚ ذَٰلِكَ بِأَنَّ مِنۡهُمۡ قِسِّيسِينَ وَرُهۡبَانٗا وَأَنَّهُمۡ لَا يَسۡتَكۡبِرُونَ
แน่นอนเจ้า โอ้ท่านเราะสูล จะได้พบกับหมู่ชนที่เป็นศัตรูตัวฉกาจที่สุดต่อบรรดาผู้ที่ศรัทธาต่อเจ้าและศรัทธาต่อคำสอนที่เจ้าได้นำมาคือชาวยิว เพราะความแค้นอิจฉาและหยิ่งยโสที่ติดตัวอยู่กับพวกเขา บรรดาผู้สักการะรูปเจว็ดต่างๆ และบรรดามุชริกีนผู้ตั้งภาคีต่ออัลลอฮฺ และแน่นอนเจ้าจะได้พบว่าบรรดาผู้ที่มีความรักใคร่ต่อบรรดาผู้ที่ศรัทธาต่อเจ้าและศรัทธาต่อคำสอนที่เจ้าได้นำมา มากที่สุดคือบรรดาผู้ที่กล่าวว่าพวกเราเป็นคริสต์ นั้นก็เพราะว่าในหมู่พวกเขานั้นมีบรรดาผู้รู้ นักปราชญ์ และบาทหลวง และก็เพราะว่าพวกเขานอบน้อมไม่เย่อหยิ่ง เพราะผู้ที่เย่อหยิ่งนั้นความดีจะไม่เข้าไปถึงหัวใจของเขา
ئەرەپچە تەپسىرلەر:
بۇ بەتتىكى ئايەتلەردىن ئېلىنغان مەزمۇنلار:
• ترك الأمر بالمعروف والنهي عن المنكر موجب لِلَّعْنِ والطرد من رحمة الله تعالى.
•การละทิ้งการสั่งใช้ให้ทำความดีและละทิ้งการห้ามปรามจากความชั่วนั้นจำเป็นต้องได้รับการสาปแช่งและถูกขับไล่ออกจากความเมตตาของอัลลอฮฺ

• من علامات الإيمان: الحب في الله والبغض في الله.
•ส่วนหนึ่งจากสัญญาณแห่งอีหม่านการศรัทธาคือ การรักและโกรธเพื่ออัลลอฮฺ

• موالاة أعداء الله توجب غضب الله عز وجل على فاعلها.
•การเป็นมิตรกับศัตรูของอัลลอฮฺจำเป็นต้องได้รับความโกรธกริ้วจากอัลลอฮฺ

• شدة عداوة اليهود والمشركين لأهل الإسلام، وفي المقابل وجود طوائف من النصارى يدينون بالمودة للإسلام؛ لعلمهم أنه دين الحق.
•การเป็นศัตรูตัวฉกาจของชาวยิวและผู้ตั้งภาคีต่อบรรดาผู้ศรัทธา และทางตรงกันข้ามจะมีกลุ่มชนจากชาวคริสต์ที่มีความรักใคร่อิสลาม เพราะพวกเขารู้ว่าอิสลามเป็นศาสนาอันเที่ยงตรง

 
مەنالار تەرجىمىسى ئايەت: (82) سۈرە: سۈرە مائىدە
سۈرە مۇندەرىجىسى بەت نومۇرى
 
قۇرئان كەرىم مەنىلىرىنىڭ تەرجىمىسى - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - تەرجىمىلەر مۇندەرىجىسى

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

تاقاش