قۇرئان كەرىم مەنىلىرىنىڭ تەرجىمىسى - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - تەرجىمىلەر مۇندەرىجىسى


مەنالار تەرجىمىسى ئايەت: (124) سۈرە: سۈرە ئەنئام
وَإِذَا جَآءَتۡهُمۡ ءَايَةٞ قَالُواْ لَن نُّؤۡمِنَ حَتَّىٰ نُؤۡتَىٰ مِثۡلَ مَآ أُوتِيَ رُسُلُ ٱللَّهِۘ ٱللَّهُ أَعۡلَمُ حَيۡثُ يَجۡعَلُ رِسَالَتَهُۥۗ سَيُصِيبُ ٱلَّذِينَ أَجۡرَمُواْ صَغَارٌ عِندَ ٱللَّهِ وَعَذَابٞ شَدِيدُۢ بِمَا كَانُواْ يَمۡكُرُونَ
และเมื่อมีโองการได้มายังบรรดาผู้นำของบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาที่ถูกประทานลงมาจากอัลลอฮ์แก่นบีของพระองค์ พวกเขาก็กล่าวว่า "เราจะไม่ศรัทธาเป็นอันขาดจนกว่าอัลลอฮ์จะให้เราเหมือนสิ่งที่ให้แก่บรรดานบี ซึ่งการเป็นนบีและการเป็นเราะสูล" แล้วอัลลอฮ์ก็ทรงตอบแก่พวกเขาว่า พระองค์ทรงรอบรู้ดียิ่งถึงบุคคลที่เหมาะสมสำหรับการเป็นเราะสูล และสามารถที่จะทำหน้าที่ด้วยความยากลำบาก ดังนั้นจึงได้เลือกเขาเป็นนบีและเป็นเราะสูล และบรรดาผู้อธรรมจะได้รับความอัปยศ ความตกต่ำเนื่องด้วยความหยิ่งของพาต่อสัจธรรมและการลงโทษที่แสนเจ็บปวดเพราะอุบายของพวกเขา
ئەرەپچە تەپسىرلەر:
بۇ بەتتىكى ئايەتلەردىن ئېلىنغان مەزمۇنلار:
• الأصل في الأشياء والأطعمة الإباحة، وأنه إذا لم يرد الشرع بتحريم شيء منها فإنه باق على الإباحة.
หลักเดิมของแต่ละสิ่งและอาหารแต่ละชนิดเป็นที่อนุญาต หากไม่ได้ถูกบัญญัติว่าเป็นสิ่งต้องห้าม ก็จะยังคงเป็นที่อนุญาตตามหลักเดิม

• كل من تكلم في الدين بما لا يعلمه، أو دعا الناس إلى شيء لا يعلم أنه حق أو باطل، فهو معتدٍ ظالم لنفسه وللناس، وكذلك كل من أفتى وليس هو بكفء للإفتاء.
ทุกคนที่พูดเรื่องศาสนาโดยที่เขาไม่รู้ หรือเชิญชวนผู้อื่นไปยังสิ่งใดๆ ที่เขาไม่รู้ว่าเป็นสัจธรรมหรือมดเท็จ ดังนั้นเขาผู้นั้นเป็นผู้ฝ่าฝืน อธรรมต่อตัวของเขาเองและต่อมวลมนุษย์ และเช่นนั้นเเหละผู้ที่ตอบประเด็นศาสนาโดยที่เขาไม่มีความเหมาะสมที่จะให้การตอบ

• منفعة المؤمن ليست مقتصرة على نفسه، بل مُتَعدِّية لغيره من الناس.
ประโยชน์ของผู้ศรัทธาไม่ได้จำกัดอยู่กับตัวของเขาเท่านั้น แต่จะส่งผลไปยังคนอื่นด้วย

 
مەنالار تەرجىمىسى ئايەت: (124) سۈرە: سۈرە ئەنئام
سۈرە مۇندەرىجىسى بەت نومۇرى
 
قۇرئان كەرىم مەنىلىرىنىڭ تەرجىمىسى - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - تەرجىمىلەر مۇندەرىجىسى

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

تاقاش