ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - فهرس التراجم


ترجمة معاني آية: (36) سورة: الكهف
وَمَآ أَظُنُّ ٱلسَّاعَةَ قَآئِمَةٗ وَلَئِن رُّدِدتُّ إِلَىٰ رَبِّي لَأَجِدَنَّ خَيۡرٗا مِّنۡهَا مُنقَلَبٗا
และฉันไม่เชื่อว่าวันแห่งการฟื้นคืนชีพนั้นจะมีขึ้นจริง เพราะชีวิตคนเรามันคือชีวิตที่ต่อเนื่อง และหากสมมุติว่ามันจะมีขึ้นจริง ฉันก็จะถูกฟื้นคืนชีพหรือจะถูกนำกลับไปยังพระผู้อภิบาลของฉันพร้อมๆ กับได้รับสถานที่ที่ดีกว่าสวนที่ฉันมีอยู่ ณ ตอนนี้อย่างแน่นอน เพราะการที่ฉันเป็นผู้ร่ำรวยบนโลกนี้ ฉันก็จะต้องเป็นคนที่ร่ำรวยยิ่งหลังจากการฟื้นคืนชีพเช่นกัน
التفاسير العربية:
من فوائد الآيات في هذه الصفحة:
• على المؤمن ألا يستكين أمام عزة الغني الكافر، وعليه نصحه وإرشاده إلى الإيمان بالله، والإقرار بوحدانيته، وشكر نعمه وأفضاله عليه.
ผู้ศรัทธาไม่ควรรู้สึกตกต่ำต่อหน้าผู้ปฏิเสธศรัทธาที่ร่ำรวย และควรตักเตือนให้คำแนะนำแก่เขาไปสู่การศรัทธาต่ออัลลอฮ์ ยอมรับในความเป็นเอกภาพของพระองค์ และขอบคุณต่อความโปรดปรานของพระองค์

• ينبغي لكل من أعجبه شيء من ماله أو ولده أن يضيف النعمة إلى مُولِيها ومُسْدِيها بأن يقول: ﴿ما شاءَ اللهُ لا قُوَّةَ إلَّا بِاللهِ﴾.
สำหรับผู้ที่รู้สึกชื่นชอบบางสิ่งบางอย่างที่ตนครอบครอง เช่น ทรัพย์สินเงินทอง หรือลูกหลาน จำเป็นต้องอ้างความโปรดปรานเหล่านั้นขึ้นกับอัลลอฮ์ โดยการกล่าวว่า" สิ่งที่ฉันได้รับมาทั้งหมดนั้น ก็เนื่องจากอัลลอฮ์ทรงประสงค์ ไม่มีพลังอำนาจใดนอกจากพลังอำนาจของอัลลอฮ์"

• إذا أراد الله بعبد خيرًا عجل له العقوبة في الدنيا.
หากอัลลอฮ์ได้ประสงค์แก่บ่าวคนใดให้เขาได้ประสบกับความดี พระองค์จะเร่งรัดการลงโทษของเขาไว้บนโลกนี้เสียก่อน (เพราะการลงโทษในโลกหน้านั้น มันหนักหนาสาหัสยิ่งกว่า)

• جواز الدعاء بتلف مال من كان ماله سبب طغيانه وكفره وخسرانه.
อิสลามอนุญาตให้กระทำการวิงวอนต่ออัลลอฮ์เพื่อทำลายทรัพย์สินสำหรับผู้ที่มีทรัพย์สินเหล่านั้นแล้วเป็นสาเหตุทำให้เขาต้องเป็นผู้ที่ละเมิด ปฏิเสธการศรัทธาต่อพระองค์ และสู่การขาดทุนย่อยยับของเขาบนโลกนี้

 
ترجمة معاني آية: (36) سورة: الكهف
فهرس السور رقم الصفحة
 
ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - فهرس التراجم

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

إغلاق