ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - فهرس التراجم


ترجمة معاني آية: (102) سورة: الصافات
فَلَمَّا بَلَغَ مَعَهُ ٱلسَّعۡيَ قَالَ يَٰبُنَيَّ إِنِّيٓ أَرَىٰ فِي ٱلۡمَنَامِ أَنِّيٓ أَذۡبَحُكَ فَٱنظُرۡ مَاذَا تَرَىٰۚ قَالَ يَٰٓأَبَتِ ٱفۡعَلۡ مَا تُؤۡمَرُۖ سَتَجِدُنِيٓ إِن شَآءَ ٱللَّهُ مِنَ ٱلصَّٰبِرِينَ
ครั้นเมื่ออิสมาอีลเติบโตขึ้น และสามารถทำในสิ่งที่พ่อได้ทำ พ่อของเขาอิบรอฮีมก็ได้ฝัน และความฝันของบรรดานบีนั้น คือวะห์ยู อิบรอฮีมก็ได้กล่าวว่า “โอ้ ลูกรักของฉัน! แท้จริงฉันเห็นในความฝันว่าฉันกำลังเชือดเจ้า เจ้าคิดเห็นอย่างไรในเรื่องนี้” ลูกชายของเขาตอบว่า “โอ้พ่อครับ จงทำตามสิ่งที่อัลลอฮ์ได้สั่งให้พ่อทำเถิด ด้วยการเชือดฉัน แล้วท่านจะพบว่าฉันเป็นหนึ่งในบรรดาผู้อดทนและพอใจกับคำตัดสินของอัลลอฮ์"
التفاسير العربية:
من فوائد الآيات في هذه الصفحة:
• من مظاهر الإنعام على نوح: نجاة نوح ومن آمن معه، وجعل ذريته أصول البشر والأعراق والأجناس، وإبقاء الذكر الجميل والثناء الحسن.
หนึ่งในความโปรดปราณที่มีให้นูหฺ คือ การรอดพ้นของนูหฺและบรรดาผู้ศรัทธาร่วมกับเขาและทำให้ลูกหลานของเขาเป็นต้นกำเนิดของมนุษย์ เชื้อชาติและเผ่าพันธุ์และทำให้การกล่าวถึงในทางที่ดีและการสรรเสริญยังคงอยู่ต่อไป

• أفعال الإنسان يخلقها الله ويفعلها العبد باختياره.
การกระทำของมนุษย์ถูกสร้างขึ้นโดยอัลลอฮ์ แต่บ่าวกระทำมันด้วยการเลือกของเขาเอง

• الذبيح بحسب دلالة هذه الآيات وترتيبها هو إسماعيل عليه السلام؛ لأنه هو المُبَشَّر به أولًا، وأما إسحاق عليه السلام فبُشِّر به بعد إسماعيل عليه السلام.
ผู้ถูกเชือดตามหลักฐานของโองการเหล่านี้และตามลำดับของมัน คือ อิสมาอีล อลัยฮิสสะลาม เพราะเขาเป็นผู้ที่ถูกแจ้งข่าวดีเป็นคนแรก ส่วนอิสฮาก อลัยฮิสสะลาม ถูกแจ้งข่าวดีหลังจากอิสมาอิล อลัยฮิสสะลาม

• قول إسماعيل: ﴿سَتَجِدُنِي إِن شَآءَ اْللهُ مِنَ اْلصَّابِرِينَ﴾ سبب لتوفيق الله له بالصبر؛ لأنه جعل الأمر لله.
คำกล่าวของอิสมาอีลที่ว่า (หากอัลลอฮฺทรงประสงค์ พ่อจะเห็นฉันเป็นคนหนึ่งในหมู่ผู้มีความอดทน) เป็นสาเหตุที่ทำให้อัลลอฮ์ประทานความอดทนแก่เขา เพราะเขาทำตามคำบัญชาของอัลลอฮ์

 
ترجمة معاني آية: (102) سورة: الصافات
فهرس السور رقم الصفحة
 
ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - فهرس التراجم

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

إغلاق