ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - فهرس التراجم


ترجمة معاني آية: (101) سورة: التوبة
وَمِمَّنۡ حَوۡلَكُم مِّنَ ٱلۡأَعۡرَابِ مُنَٰفِقُونَۖ وَمِنۡ أَهۡلِ ٱلۡمَدِينَةِ مَرَدُواْ عَلَى ٱلنِّفَاقِ لَا تَعۡلَمُهُمۡۖ نَحۡنُ نَعۡلَمُهُمۡۚ سَنُعَذِّبُهُم مَّرَّتَيۡنِ ثُمَّ يُرَدُّونَ إِلَىٰ عَذَابٍ عَظِيمٖ
และผู้ที่อาศัยอยู่ใกล้มะดีนะฮฺที่เป็นอาหรับชนบทนั้น เป็นพวกกลับกลอก และในหมู่ชาวมะดีนะฮฺก็เช่นเดียวกัน พวกเขาเหล่านั้นยังคงอยู่บนการกลับกลอกและยังคงทำเช่นนั้นต่อไปเรื่อยๆ โอ้ เราะซูลเอ๋ย เจ้าไม่รู้จักธาตุแท้ของพวกเขาดอก อัลลอฮฺคือผู้ที่รู้จักพวกเขาดี พระองค์จะลงโทษพวกเขาสองครั้ง ครั้งแรกบนโลกนี้ด้วยการเปิดเผยการกลับกลอกของพวกเขาและการฆ่าของพวกเขาและครอบครัวของพวกเขา และครั้งที่สองในวันปรโลกด้วยการทุกข์ทรมานต่อการลงโทษในหลุมฝังศพ แล้วพวกเขาจะถูกนำกลับไปในวันกิยามะฮฺสู่การลงโทษอันยิ่งใหญ่ ในนรกชั้นต่ำที่สุด
التفاسير العربية:
من فوائد الآيات في هذه الصفحة:
• فضل المسارعة إلى الإيمان، والهجرة في سبيل الله، ونصرة الدين، واتباع طريق السلف الصالح.
ความประเสริฐของการเร่งรีบไปสู่การศรัทธาและการอพยพในหนทางของอัลลอฮฺและการสนับสนุนช่วยเหลือหนทางของศาสนาและการปฏิบัติตามวิถีของอัสสะละฟุศศอลิหฺ (บรรพชนรุ่นก่อนที่ดี)

• استئثار الله عز وجل بعلم الغيب، فلا يعلم أحد ما في القلوب إلا الله.
เฉพาะอัลลอฮฺ อัซซาวะญัลเพียงองค์เดียวเท่านั้นที่รู้ในสิ่งเร้นลับ และไม่มีผู้ใดรู้สิ่งที่อยู่ในจิตใจ เว้นแต่พระองค์

• الرجاء لأهل المعاصي من المؤمنين بتوبة الله عليهم ومغفرته لهم إن تابوا وأصلحوا عملهم.
ความหวังสำหรับบรรดาผู้ศรัทธาที่มีบาปติดตัวคือการได้รับการอภัยโทษจากอัลลอฮฺและได้รับการลบบาปจากพระองค์ หากพวกเขาได้กลับตัวกลับใจและแก้ไขการงานของพวกเขาให้ดีขึ้น

• وجوب الزكاة وبيان فضلها وأثرها في تنمية المال وتطهير النفوس من البخل وغيره من الآفات.
ข้อบังคับการจ่ายซะกาต(บริจาคทาน)และได้อธิบายถึงความประเสริฐของมัน และผลของมันที่จะทำให้ทรัพย์สินนั้นงอกเงยขึ้นและเป็นการลบล้างจิตใจจากความตระหนี่และสิ่งอื่นๆที่น่ารังเกียจ

 
ترجمة معاني آية: (101) سورة: التوبة
فهرس السور رقم الصفحة
 
ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - فهرس التراجم

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

إغلاق