કુરઆન મજીદના શબ્દોનું ભાષાંતર - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - ભાષાંતરોની અનુક્રમણિકા


શબ્દોનું ભાષાંતર આયત: (110) સૂરહ: યૂસુફ
حَتَّىٰٓ إِذَا ٱسۡتَيۡـَٔسَ ٱلرُّسُلُ وَظَنُّوٓاْ أَنَّهُمۡ قَدۡ كُذِبُواْ جَآءَهُمۡ نَصۡرُنَا فَنُجِّيَ مَن نَّشَآءُۖ وَلَا يُرَدُّ بَأۡسُنَا عَنِ ٱلۡقَوۡمِ ٱلۡمُجۡرِمِينَ
บรรดาเราะสูลที่เราได้ส่งมานั้น เราได้เลื่อนเวลาลงโทษศัตรูของพวกเขาโดยไม่รีบเร่งเพื่อเป็นการจูงใจพวกเขา จนกระทั่งเมื่อการลงโทษพวกเขาล่าช้า บรรดาเราะสูลหมดหวังจากความหายนะของพวกเขา และบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาคิดว่าบรรดาเราะสูลของพวกเขาได้โกหกเกี่ยวกับบทลงโทษของผู้ปฏิเสธและการให้ผู้ศรัทธาอยู่รอดที่พวกเขาได้สัญญาไว้ การช่วยเหลือของเราก็ได้มายังเราะสูลของเรา เราช่วยเหลือบรรดาเราะสูลและบรรดามุอฺมินผู้ศรัทธาให้รอดพ้นจากการลงโทษที่ประสบกับบรรดาผู้ปฏิเสธ และหากเราลงโทษหมู่ชนผู้กระทำผิดแล้วการลงโทษของเราก็จะไม่ถูกผลักออกจากพวกเขา
અરબી તફસીરો:
આયતોના ફાયદાઓ માંથી:
• أن الداعية لا يملك تصريف قلوب العباد وحملها على الطاعات، وأن أكثر الخلق ليسوا من أهل الهداية.
•ผู้เผยแพร่ศาสนาไม่สามารถครอบครองการเปลี่ยนแปลงจิตใจของผู้เป็นบ่าวและบังคับให้เขาต้องเชื่อฟัง และมนุษย์ส่วนใหญ่มิใช่ผู้ที่ได้รับทางนำ

• ذم المعرضين عن آيات الله الكونية ودلائل توحيده المبثوثة في صفحات الكون.
•เป็นการตำหนิติเตียนผู้ที่หันหลังไม่ใคร่ครวญสัญญาณต่างๆ ของอัลลอฮฺที่บ่งชี้ถึงความเป็นเอกภาพของพระองค์ที่กระจัดกระจายในบรรดาชั้นฟ้าและแผ่นดิน

• شملت هذه الآية ﴿ قُل هَذِهِ سَبِيلِي...﴾ ذكر بعض أركان الدعوة، ومنها: أ- وجود منهج:﴿ أَدعُواْ إِلَى اللهِ ﴾. ب - ويقوم المنهج على العلم: ﴿ عَلَى بَصِيرَةٍ﴾. ج - وجود داعية: ﴿ أَدعُواْ ﴾ ﴿أَنَا﴾. د - وجود مَدْعُوِّين: ﴿ وَمَنِ اتَّبَعَنِي ﴾.
•อายะฮฺ (قُلۡ هَٰذِهِۦ سَبِيلِي) ได้รวบรวมหลักการดะอฺวะฮฺ (การเผยแพร่) ไว้บางประการ เช่น 1- มีหลักสูตร 2- มีหลักสูตรที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้ 3- มีผู้เผยแพร่ 4- มีกลุ่มเป้าหมาย

 
શબ્દોનું ભાષાંતર આયત: (110) સૂરહ: યૂસુફ
સૂરહ માટે અનુક્રમણિકા પેજ નંબર
 
કુરઆન મજીદના શબ્દોનું ભાષાંતર - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - ભાષાંતરોની અનુક્રમણિકા

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

બંધ કરો