وه‌رگێڕانی ماناكانی قورئانی پیرۆز - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - پێڕستی وه‌رگێڕاوه‌كان


وه‌رگێڕانی ماناكان ئایه‌تی: (11) سوره‌تی: سورەتی فاطر
وَٱللَّهُ خَلَقَكُم مِّن تُرَابٖ ثُمَّ مِن نُّطۡفَةٖ ثُمَّ جَعَلَكُمۡ أَزۡوَٰجٗاۚ وَمَا تَحۡمِلُ مِنۡ أُنثَىٰ وَلَا تَضَعُ إِلَّا بِعِلۡمِهِۦۚ وَمَا يُعَمَّرُ مِن مُّعَمَّرٖ وَلَا يُنقَصُ مِنۡ عُمُرِهِۦٓ إِلَّا فِي كِتَٰبٍۚ إِنَّ ذَٰلِكَ عَلَى ٱللَّهِ يَسِيرٞ
และอัลลอฮ์เป็นผู้ทรงสร้างบิดาของพวกเจ้า อาดัม มาจาฝุ่นดินแล้วทรงสร้างพวกเจ้ามาจากเชื้ออสุจิแล้วทรงทำให้พวกเจ้าเป็นชายและหญิงเพื่อให้แต่งงานกันระหว่างพวกเจ้า และจะไม่มีการตั้งครรภ์ใดๆจากผู้หญิงและจะไม่มีการคลอดบุตรออกมา เว้นแต่ด้วยความรอบรู้ของพระองค์เท่านั้น ซึ่งมันจะไม่หายไปจากพระองค์เลยจากสิ่งเหล่านั้น และจะไม่ถูกเพิ่มอายุให้ยืดยาวแก่คนหนึ่งคนใดจากสิ่งที่ถูกสร้างของพระองค์และจะไม่มีการลดอายุเช่นกัน เว้นแต่อายุไขเหล่านั้นได้ถูกบันทึกไว้ในแผ่นจารึกที่ถูกรักษาไว้ และในสิ่งที่กล่าวมานั้น ไม่ว่าจะเป็นจากการสร้างพวกเจ้าจากฝุ่นดิน สร้างพวกเจ้าเป็นขั้นเป็นตอนและการบันทึกอายุไขของพวกเจ้าในแผ่นจารึกที่ถูกรักษาไว้ ทั้งหมดนั้นสำหรับอัลลอฮ์แล้วมันเป็นเรื่องง่าย
تەفسیرە عەرەبیەکان:
سوودەکانی ئایەتەکان لەم پەڕەیەدا:
• تسلية الرسول صلى الله عليه وسلم بذكر أخبار الرسل مع أقوامهم.
เป็นการปลอดใจให้แก่ท่านเราะสูล ศ็อลลัลลอฮุอลัยฮิวะซัลลัม ด้วยการบอกเล่าถึงเรื่องราวของบรรดาเราะสูลกับประชาชาติของพวกเขา

• الاغترار بالدنيا سبب الإعراض عن الحق.
การลุ่มหลงในดุนยานั้นเป็นสาเหตุในการผินหลังออกจากสัจธรรม

• اتخاذ الشيطان عدوًّا باتخاذ الأسباب المعينة على التحرز منه؛ من ذكر الله، وتلاوة القرآن، وفعل الطاعة، وترك المعاصي.
การยึดชัยฏอนเป็นศัตรูนั้น ด้วยการใช้เหตุผลในการปกป้องตนเองจากมัน เช่น การรำลึกถึงอัลลอฮ์ การอ่านอัลกุรอาน ทำสิ่งที่เป็นการเชื่อฟัง และละทิ้งสิ่งที่เป็นการเนรคุณ

• ثبوت صفة العلو لله تعالى.
ยืนยันถึงคุณลักษณะการเป็นผู้ทรงสูงส่งของอัลลอฮ์

 
وه‌رگێڕانی ماناكان ئایه‌تی: (11) سوره‌تی: سورەتی فاطر
پێڕستی سوره‌ته‌كان ژمارەی پەڕە
 
وه‌رگێڕانی ماناكانی قورئانی پیرۆز - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - پێڕستی وه‌رگێڕاوه‌كان

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

داخستن