وه‌رگێڕانی ماناكانی قورئانی پیرۆز - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - پێڕستی وه‌رگێڕاوه‌كان


وه‌رگێڕانی ماناكان ئایه‌تی: (3) سوره‌تی: سورەتی الزمر
أَلَا لِلَّهِ ٱلدِّينُ ٱلۡخَالِصُۚ وَٱلَّذِينَ ٱتَّخَذُواْ مِن دُونِهِۦٓ أَوۡلِيَآءَ مَا نَعۡبُدُهُمۡ إِلَّا لِيُقَرِّبُونَآ إِلَى ٱللَّهِ زُلۡفَىٰٓ إِنَّ ٱللَّهَ يَحۡكُمُ بَيۡنَهُمۡ فِي مَا هُمۡ فِيهِ يَخۡتَلِفُونَۗ إِنَّ ٱللَّهَ لَا يَهۡدِي مَنۡ هُوَ كَٰذِبٞ كَفَّارٞ
พึงทราบเถิด การอิบาดะฮ์ที่บริสุทธิ์จากการตั้งภาคีนั้นเป็นของอัลลอฮ์องค์เดียว ส่วนบรรดาผู้ที่ยึดเอาสิ่งอื่นจากอัลลอฮ์เป็นผู้คุ้มครองที่มาจากรูปปั้นต่างๆและบรรดาชัยฏอน ซึ่งพวกเขาเคารพต่อสิ่งเหล่านั้นอื่นจากอัลลอฮ์ โดยอ้างถึงการทำอิบาดะฮฺของพวกเขาต่อสิ่งเหล่านั้น ด้วยคำกล่าวที่ว่า “เรามิได้เคารพภักดีสิ่งเหล่านั้น เว้นแต่เพื่อให้สิ่งเหล่านี้ทำให้สถานะของเราได้เข้าใกล้อัลลอฮ์ ให้ความต้องการต่างๆของเราถูกยกไปยังพระองค์ และให้พวกเขาช่วยเหลือเรา ณ ที่พระองค์" แท้จริงอัลลอฮ์จะทรงตัดสินระหว่างบรรดาผู้ศรัทธาผู้ทีเชื่อในความเป็นเอกะของพระองค์ และระหว่างบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาที่ตั้งภาคีในวันกิยามะฮ์ ในสิ่งที่พวกเขาขัดแย้งกันในเรื่องการเตาฮีด(การศรัทธาในความเป็นเอกะของอัลลอฮ์) แท้จริงอัลลอฮ์จะไม่ทรงชี้นำสู่สัจธรรมแก่ผู้กล่าวเท็จต่ออัลลอฮ์ที่เชื่อว่าอัลลอฮ์นั้นมีหุ้นส่วน ผู้ไม่สำนึกในความโปรดปราณของอัลลอฮ์ที่มีต่อเขา
تەفسیرە عەرەبیەکان:
سوودەکانی ئایەتەکان لەم پەڕەیەدا:
• الداعي إلى الله يحتسب الأجر من عنده، لا يريد من الناس أجرًا على ما يدعوهم إليه من الحق.
ผู้ที่เรียกร้องสู่อัลลอฮ์ เขาหวังผลตอนแทนจากพระองค์ เขาไม่ต้องการการตอบแทนจากมนุษย์ในสิ่งที่พวกเขาได้เรียกร้องพวกเขาซึ่งสัจธรรม

• التكلّف ليس من الدِّين.
การบังคับตัวเองไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของศาสนา

• التوسل إلى الله يكون بأسمائه وصفاته وبالإيمان وبالعمل الصالح لا غير.
การใช้สื่อกลางในการวิงวอนต่ออัลลอฮ์นั้นจะต้องด้วยพระนามของพระองค์ คุณลักษณะของพระองค์ และด้วยศรัทธาและการกระทำที่เป็นคุณงามความดีเท่านั้น

 
وه‌رگێڕانی ماناكان ئایه‌تی: (3) سوره‌تی: سورەتی الزمر
پێڕستی سوره‌ته‌كان ژمارەی پەڕە
 
وه‌رگێڕانی ماناكانی قورئانی پیرۆز - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - پێڕستی وه‌رگێڕاوه‌كان

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

داخستن