وه‌رگێڕانی ماناكانی قورئانی پیرۆز - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - پێڕستی وه‌رگێڕاوه‌كان


وه‌رگێڕانی ماناكان ئایه‌تی: (12) سوره‌تی: سورەتی التوبة
وَإِن نَّكَثُوٓاْ أَيۡمَٰنَهُم مِّنۢ بَعۡدِ عَهۡدِهِمۡ وَطَعَنُواْ فِي دِينِكُمۡ فَقَٰتِلُوٓاْ أَئِمَّةَ ٱلۡكُفۡرِ إِنَّهُمۡ لَآ أَيۡمَٰنَ لَهُمۡ لَعَلَّهُمۡ يَنتَهُونَ
และหากบรรดาผู้ตั้งภาคีเหล่านั้นที่พวกเจ้าได้ทำสัญญาสงบศึกกับพวกเขาในระยะเวลาที่แน่นอนได้ทำลายสัญญาของพวกเขา ประณามและดูหมิ่นศาสนาของพวกเจ้า พวกเจ้าจงทำศึกกับพวกเขา เพราะพวกเขาเป็นผู้นำและแกนนำของการปฏิเสธศรัทธา และไม่มีสัญญาใด ๆ ที่จะปกป้องเลือดเนื้อของพวกเขาอีก จงทำศึกกับพวกเขาให้ถึงที่สุดโดยหวังว่า การปฏิเสธศรัทธาของพวกเขาจะสิ้นสุดลง การละเมิดสนธิสัญญาจะยุติลง และการดูแคลนต่อศาสนาจะหมดไป
تەفسیرە عەرەبیەکان:
سوودەکانی ئایەتەکان لەم پەڕەیەدا:
• دلَّت الآيات على أن قتال المشركين الناكثين العهد كان لأسباب كثيرة، أهمها: نقضهم العهد.
โองการดังกล่าวชี้ให้เห็นว่าการต่อสู้กับบรรดาผู้ตั้งภาคีที่ทำลายพันธสัญญานั้นมีสาเหตุหลายประการด้วยกัน ซึ่งสิ่งที่สำคัญที่สุดคือการที่พวกเขาละเมิดพันธสัญญา

• في الآيات دليل على أن من امتنع من أداء الصلاة أو الزكاة فإنه يُقاتَل حتى يؤديهما، كما فعل أبو بكر رضي الله عنه.
โองการดังกล่าวเป็นหลักฐานที่บ่งชี้ว่าผู้ใดที่ปฏิเสธการละหมาดหรือไม่จ่ายซะกาต เขาจะถูกทำศึกจนกว่าเขาจะยอมปฏิบัติทั้งสอง ดังเช่นที่อบูบักร เราะฏิยัลลอฮุอันฮุ ได้เคยดำเนินการกับเรื่องนี้

• استدل بعض العلماء بقوله تعالى:﴿وَطَعَنُوا فِي دِينِكُمْ﴾ على وجوب قتل كل من طعن في الدّين عامدًا مستهزئًا به.
นักวิชาการบางคนได้ยกคำดำรัสของอัลลอฮ์ที่ว่า "และพวกเขาใส่ร้ายศาสนาของพวกเจ้า" ว่าเป็นหลักฐานที่เป็นข้อบังคับให้มีการทำศึกกับผู้ที่ตั้งใจใส่ร้ายและเยาะเย้ยต่อศาสนา"

• في الآيات دلالة على أن المؤمن الذي يخشى الله وحده يجب أن يكون أشجع الناس وأجرأهم على القتال.
โองการดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าผู้ศรัทธาที่เกรงกลัวต่ออัลลอฮ์เพียงพระองค์เดียวนั้นจะต้องเป็นคนกล้าหาญในการทำศึก(กับศัตรู)

 
وه‌رگێڕانی ماناكان ئایه‌تی: (12) سوره‌تی: سورەتی التوبة
پێڕستی سوره‌ته‌كان ژمارەی پەڕە
 
وه‌رگێڕانی ماناكانی قورئانی پیرۆز - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - پێڕستی وه‌رگێڕاوه‌كان

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

داخستن