ߞߎ߬ߙߣߊ߬ ߞߟߊߒߞߋ ߞߘߐ ߟߎ߬ ߘߟߊߡߌߘߊ - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - ߘߟߊߡߌߘߊ ߟߎ߫ ߦߌ߬ߘߊ߬ߥߟߊ


ߞߘߐ ߟߎ߬ ߘߟߊߡߌ߬ߘߊ߬ߟߌ ߟߝߊߙߌ ߘߏ߫: (52) ߝߐߘߊ ߘߏ߫: ߞߐ߲ߛߐ߲ ߠߎ߬ ߝߐߘߊ
كَدَأۡبِ ءَالِ فِرۡعَوۡنَ وَٱلَّذِينَ مِن قَبۡلِهِمۡۚ كَفَرُواْ بِـَٔايَٰتِ ٱللَّهِ فَأَخَذَهُمُ ٱللَّهُ بِذُنُوبِهِمۡۚ إِنَّ ٱللَّهَ قَوِيّٞ شَدِيدُ ٱلۡعِقَابِ
และนี่ไม่ใช่เป็นการลงโทษที่ลงมาเฉพาะแก่บรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธา(ในสมัยเราะซูล)เท่านั้น แต่มันเป็นกฏของอัลลอฮ์ที่พระองค์ทรงใช้กับบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาในทุกยุคทุกสมัย ดังที่วงศ์วานของฟิรเอาน์และบรรดาประชาชาติก่อนหน้าพวกเขาได้รับในยามที่พวกเขาเหล่านั้นปฏิเสธศรัทธาต่อสัญญาณต่าง ๆ ของอัลลอฮ์ แล้วอัลลอฮ์ก็ได้ทรงลงโทษพวกเขาด้วยสาเหตุความผิดบาปของพวกเขา แท้จริงอัลลอฮ์นั้นเป็นผู้ทรงเดชานุภาพที่ไม่มีผู้ใดเหนือพระองค์ และพระองค์เป็นผู้ทรงรุนแรงในการลงโทษผู้ที่ฝ่าฝืนพระองค์
ߊߙߊߓߎߞߊ߲ߡߊ ߞߘߐߦߌߘߊ ߟߎ߬:
ߟߝߊߙߌ ߟߎ߫ ߢߊ߬ߕߣߐ ߘߏ߫ ߞߐߜߍ ߣߌ߲߬ ߞߊ߲߬:
• البَطَر مرض خطير ينْخَرُ في تكوين شخصية الإنسان، ويُعَجِّل في تدمير كيان صاحبه.
การหยิ่งผยองเป็นโรคร้ายชนิดหนึ่งที่จะคอยขัดขวางการพัฒนาบุคลิกภาพของมนุษย์และเร่งทำลายบุคลิกภาพของเจ้าของมัน

• الصبر يعين على تحمل الشدائد والمصاعب، وللصبر منفعة إلهية، وهي إعانة الله لمن صبر امتثالًا لأمره، وهذا مشاهد في تصرفات الحياة.
การอดทนจะช่วยในการแบกรับอุปสรรค์และความยากลำบาก ซึ่งการอดทนนั้นเป็นคุณูปการแห่งอัลลอฮ์ กล่าวคือ อัลลอฮ์จะทรงช่วยเหลือผู้ที่อดทนในการปฏิบัติตามคำสั่งใช้ของพระองค์ และสิ่งนี้จะมีให้เห็นในการดำรงชีวิต

• التنازع والاختلاف من أسباب انقسام الأمة، وإنذار بالهزيمة والتراجع، وذهاب القوة والنصر والدولة.
ความขัดแย้งและความเห็นต่างเป็นสาเหตุหนึ่งที่จะทำให้ประชาชาติแตกแยกกัน และเป็นสัญญาเตือนถึงความพ่ายแพ้ การถดถอย การสูญเสียอำนาจ ชัยชนะ และประเทศชาติ

• الإيمان يوجب لصاحبه الإقدام على الأمور الهائلة التي لا يُقْدِم عليها الجيوش العظام.
การศรัทธาจะทำให้เจ้าของมันนั้นเกิดความกล้าหาญที่จะกระทำในสิ่งที่ยิ่งใหญ่ที่กองทัพใหญ่อื่นมิอาจกระทำมันได้

 
ߞߘߐ ߟߎ߬ ߘߟߊߡߌ߬ߘߊ߬ߟߌ ߟߝߊߙߌ ߘߏ߫: (52) ߝߐߘߊ ߘߏ߫: ߞߐ߲ߛߐ߲ ߠߎ߬ ߝߐߘߊ
ߝߐߘߊ ߟߎ߫ ߦߌ߬ߘߊ߬ߥߟߊ ߞߐߜߍ ߝߙߍߕߍ
 
ߞߎ߬ߙߣߊ߬ ߞߟߊߒߞߋ ߞߘߐ ߟߎ߬ ߘߟߊߡߌߘߊ - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - ߘߟߊߡߌߘߊ ߟߎ߫ ߦߌ߬ߘߊ߬ߥߟߊ

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

ߘߊߕߎ߲߯ߠߌ߲