د قرآن کریم د معناګانو ژباړه - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - د ژباړو فهرست (لړلیک)


د معناګانو ژباړه آیت: (111) سورت: يوسف
لَقَدۡ كَانَ فِي قَصَصِهِمۡ عِبۡرَةٞ لِّأُوْلِي ٱلۡأَلۡبَٰبِۗ مَا كَانَ حَدِيثٗا يُفۡتَرَىٰ وَلَٰكِن تَصۡدِيقَ ٱلَّذِي بَيۡنَ يَدَيۡهِ وَتَفۡصِيلَ كُلِّ شَيۡءٖ وَهُدٗى وَرَحۡمَةٗ لِّقَوۡمٖ يُؤۡمِنُونَ
แท้จริงเรื่องราวของบรรดาเราะซูลกับประชาชาติของพวกเขาและเรื่องราวของยูซุฟกับพี่น้องของเขาเป็นบทเรียนให้กับบรรดาผู้มีสติปัญญาที่สมบูรณ์ อัลกุรอ่านที่รวมถึงเรื่องดังกล่าวมิใช่เป็นเรื่องราวที่ถูกปั้นแต่งขึ้นมาและโกหกต่ออัลลอฮฺ แต่มันเป็นการยืนยันให้กับบรรดาคัมภีร์แห่งฟากฟ้าที่ถูกประทานลงมาจากพระองค์อัลลอฮฺ เป็นการแจกแจงทุกสิ่งทุกอย่างที่เกี่ยวกับบทบัญญัติ เป็นการชี้ทางสู่สิ่งที่ดีและเป็นความเมตตาให้กับบรรดาผู้ศรัทธา ดังนั้นพวกเขาคือผู้ที่ได้รับประโยชน์จากมัน
عربي تفسیرونه:
په دې مخ کې د ایتونو د فایدو څخه:
• أن الداعية لا يملك تصريف قلوب العباد وحملها على الطاعات، وأن أكثر الخلق ليسوا من أهل الهداية.
•ผู้เผยแพร่ศาสนาไม่สามารถครอบครองการเปลี่ยนแปลงจิตใจของผู้เป็นบ่าวและบังคับให้เขาต้องเชื่อฟัง และมนุษย์ส่วนใหญ่มิใช่ผู้ที่ได้รับทางนำ

• ذم المعرضين عن آيات الله الكونية ودلائل توحيده المبثوثة في صفحات الكون.
•เป็นการตำหนิติเตียนผู้ที่หันหลังไม่ใคร่ครวญสัญญาณต่างๆ ของอัลลอฮฺที่บ่งชี้ถึงความเป็นเอกภาพของพระองค์ที่กระจัดกระจายในบรรดาชั้นฟ้าและแผ่นดิน

• شملت هذه الآية ﴿ قُل هَذِهِ سَبِيلِي...﴾ ذكر بعض أركان الدعوة، ومنها: أ- وجود منهج:﴿ أَدعُواْ إِلَى اللهِ ﴾. ب - ويقوم المنهج على العلم: ﴿ عَلَى بَصِيرَةٍ﴾. ج - وجود داعية: ﴿ أَدعُواْ ﴾ ﴿أَنَا﴾. د - وجود مَدْعُوِّين: ﴿ وَمَنِ اتَّبَعَنِي ﴾.
•อายะฮฺ (قُلۡ هَٰذِهِۦ سَبِيلِي) ได้รวบรวมหลักการดะอฺวะฮฺ (การเผยแพร่) ไว้บางประการ เช่น 1- มีหลักสูตร 2- มีหลักสูตรที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้ 3- มีผู้เผยแพร่ 4- มีกลุ่มเป้าหมาย

 
د معناګانو ژباړه آیت: (111) سورت: يوسف
د سورتونو فهرست (لړلیک) د مخ نمبر
 
د قرآن کریم د معناګانو ژباړه - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - د ژباړو فهرست (لړلیک)

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

بندول