Tradução dos significados do Nobre Qur’an. - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - Índice de tradução


Tradução dos significados Versículo: (60) Surah: Suratu Al-Furqan
وَإِذَا قِيلَ لَهُمُ ٱسۡجُدُواْۤ لِلرَّحۡمَٰنِ قَالُواْ وَمَا ٱلرَّحۡمَٰنُ أَنَسۡجُدُ لِمَا تَأۡمُرُنَا وَزَادَهُمۡ نُفُورٗا۩
และเมื่อได้ถูกกล่าวแก่พวกปฏิเสธศรัทธาว่า : พวกเจ้าจงสุญูดต่อพระผู้ทรงกรุณาปรานีเถิด พวกเขากล่าวตอบว่า : พวกเราจะไม่สุญูดต่อพระผู้ทรงกรุณาปรานี ใครกันหรือคือพระผู้ทรงกรุณาปรานี?! พวกเราไม่รู้จักและไม่ยอมรับในพระองค์ หรือจะให้พวกเราสุญูดตามที่เจ้าสั่งใช้ทั้งๆ ที่พวกเราไม่ได้รู้จักพระองค์กระนั้นหรือ?! คำพูดเช่นนี้ได้ทำให้พวกเขาเพิ่มความห่างไกลจากการศรัทธาต่ออัลลอฮฺ
Os Tafssir em língua árabe:
Das notas do versículo nesta página:
• الداعي إلى الله لا يطلب الجزاء من الناس.
ผู้ที่เชิญชวนสู่อัลลอฮฺเขาจะไม่หวังผลตอบแทนใดๆ จากมนุษย์

• ثبوت صفة الاستواء لله بما يليق به سبحانه وتعالى.
การกำหนดลักษณะที่มั่นคงของอัลลอฮฺบนบัลลังก์ของพระองค์(อิสติวะอฺ)เป็นไปตามความสง่างามของพระองค์

• أن الرحمن اسم من أسماء الله لا يشاركه فيه أحد قط، دال على صفة من صفاته وهي الرحمة.
อัรเราะฮฺมาน เป็นชื่อหนึ่งในบรรดาชื่อต่างๆ ของอัลลอฮฺที่ชี้แนะถึงคุณลักษณะแห่งความความเมตตา ซึ่งไม่มีสิ่งใดจะมามีหุ้นส่วนกับพระองค์

• إعانة العبد بتعاقب الليل والنهار على تدارُكِ ما فاتَهُ من الطاعة في أحدهما.
การเยียวยาของพระองค์ที่มีต่อบรรดาบ่าวด้วยการสลับเปลี่ยนเวลากลางวันและกลางคืน เพื่อเป็นการแก้ไขในสิ่งที่บกพร่อง เช่น การเคารพภักดีในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง

• من صفات عباد الرحمن التواضع والحلم، وطاعة الله عند غفلة الناس، والخوف من الله، والتزام التوسط في الإنفاق وفي غيره من الأمور.
ส่วนหนึ่งจากคุณลักษณะของปวงบ่าวของพระผู้ทรงกรุณาปรานี คือ การนอบน้อมถ่อมตนและการอดทนอดกลั้น เชื่อฟังต่ออัลลอฮฺในยามที่ผู้คนหลงร่าเริง มีความกลัวต่ออัลลอฮฺ มีการยึดมั่นบนความพอดี ในการใช้ทรัพย์ และในเรื่องอื่นๆ

 
Tradução dos significados Versículo: (60) Surah: Suratu Al-Furqan
Índice de capítulos Número de página
 
Tradução dos significados do Nobre Qur’an. - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - Índice de tradução

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

Fechar