Tradução dos significados do Nobre Qur’an. - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - Índice de tradução


Tradução dos significados Versículo: (15) Surah: Suratu Al-Qassas
وَدَخَلَ ٱلۡمَدِينَةَ عَلَىٰ حِينِ غَفۡلَةٖ مِّنۡ أَهۡلِهَا فَوَجَدَ فِيهَا رَجُلَيۡنِ يَقۡتَتِلَانِ هَٰذَا مِن شِيعَتِهِۦ وَهَٰذَا مِنۡ عَدُوِّهِۦۖ فَٱسۡتَغَٰثَهُ ٱلَّذِي مِن شِيعَتِهِۦ عَلَى ٱلَّذِي مِنۡ عَدُوِّهِۦ فَوَكَزَهُۥ مُوسَىٰ فَقَضَىٰ عَلَيۡهِۖ قَالَ هَٰذَا مِنۡ عَمَلِ ٱلشَّيۡطَٰنِۖ إِنَّهُۥ عَدُوّٞ مُّضِلّٞ مُّبِينٞ
และเมื่อมูซาได้เข้าไปในเมืองในช่วงเวลาที่ชาวเมืองกำลังพักผ่อนอยู่ในบ้านของพวกเขา ที่นั่นเขาได้เห็นผู้ชายสองคนกำลังต่อสู้กัน คนหนึ่งมาจากบนีอิสรออีลซึ่งเป็นหมู่ชนของมูซาและอีกคนมาจากกิบฏี(อียิปต์)ซึ่งเป็นหมู่ชนของฟิรเอานฺศัตรูของมูซา คนที่มาจากหมู่ชนของเขาจึงได้ร้องขอความช่วยเหลือให้มีชัยเหนือศัตรูของเขาที่มาจากกิบฏี ดังนั้น มูซาได้กำมือของเขาต่อยกิบฏีอย่างแรงจนเสียชีวิต มูซาจึงกล่าวว่า:" นี่เป็นการยั่วยวนของชันฏอน แท้จริงชัยฏอนนั้นคือศัตรูอย่างชัดแจ้ง ผู้ที่ทำให้ผู้ติดตามมันนั้นหลง ฉะนั้นสิ่งที่เกิดขึ้นกับฉันนั้นเป็นเพราะความเป็นศัตรูของเขาที่ต้องการให้ฉันหลงทาง"
Os Tafssir em língua árabe:
Das notas do versículo nesta página:
• الاعتراف بالذنب من آداب الدعاء.
ส่วนหนึ่งจากมารยาทในการขอดุอาอ์ คือ การสำนึกผิดต่อบาปที่ผ่านมา

• الشكر المحمود هو ما يحمل العبد على طاعة ربه، والبعد عن معصيته.
การสำนึกที่ดีที่น่ายกย่องนั้น คือการที่บ่าวได้เชื่อฟังเคารพภักดีต่อพระผู้อภิบาลของเขา และห่างไกลจากการเนรคุณต่อพระองค์

• أهمية المبادرة إلى النصح خاصة إذا ترتب عليه إنقاذ مؤمن من الهلاك.
ความสำคัญของรีบเร่งในการชี้นำตักเตือน โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าสิ่งนั้นจะนำไปสู่การช่วยเหลือชีวิตผู้ศรัทธาให้พ้นจากความพินาศ

• وجوب اتخاذ أسباب النجاة، والالتجاء إلى الله بالدعاء.
จำเป็นที่จะต้องยึดหลักกฎของเหตุและผลเพื่อสู่ความความสำเร็จ และการขอความช่วยเหลือต่ออัลลอฮฺด้วยการขอดุอาอ์

 
Tradução dos significados Versículo: (15) Surah: Suratu Al-Qassas
Índice de capítulos Número de página
 
Tradução dos significados do Nobre Qur’an. - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - Índice de tradução

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

Fechar