Tradução dos significados do Nobre Qur’an. - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - Índice de tradução


Tradução dos significados Versículo: (12) Surah: Suratu Fatir
وَمَا يَسۡتَوِي ٱلۡبَحۡرَانِ هَٰذَا عَذۡبٞ فُرَاتٞ سَآئِغٞ شَرَابُهُۥ وَهَٰذَا مِلۡحٌ أُجَاجٞۖ وَمِن كُلّٖ تَأۡكُلُونَ لَحۡمٗا طَرِيّٗا وَتَسۡتَخۡرِجُونَ حِلۡيَةٗ تَلۡبَسُونَهَاۖ وَتَرَى ٱلۡفُلۡكَ فِيهِ مَوَاخِرَ لِتَبۡتَغُواْ مِن فَضۡلِهِۦ وَلَعَلَّكُمۡ تَشۡكُرُونَ
และทะเลทั้งสองนั้นไม่เหมือนกัน ทะเลหนึ่งจืดสนิท ดื่มง่ายเนื่องด้วยความจืดสนิทของมัน ส่วนอีกทะเลหนึ่งนั้นมีรสที่เค็มจัด ไม่สามารถที่จะดื่มได้เนื่องด้วยความเค็มจัดของมัน และจากทั้งสองทะเลนั้น พวกเจ้าสามารถกินเนื้อปลาที่อ่อนนุ่ม และในทะเลทั้งสองนั้นมีไข่มุขและปะการังที่สามารถนำมาสวมใส่เป็นเครื่องประดับได้ และเจ้าเห็นเรือ ซึ่งมันได้แล่นผ่าทะเลนั้นไปมา เพื่อแสวงหาความโปรดปรานของอัลลอฮ์ในการทำการค้า และหวังว่าพวกเจ้าจะได้ขอบคุณในสิ่งที่พระองค์ได้ทรงประทานให้อย่างล้นหลาม
Os Tafssir em língua árabe:
Das notas do versículo nesta página:
• تسخير البحر، وتعاقب الليل والنهار، وتسخير الشمس والقمر: من نعم الله على الناس، لكن الناس تعتاد هذه النعم فتغفل عنها.
การให้ประโยชน์จากท้องทะเล การสลับกันของกลางวันและกลางคืนและการโคจรของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ เป็นความโปรดปรานที่อัลลอฮ์ประทานให้แก่มนุษย์ แต่เพราะความคุ้นเคยของมนุษย์ที่มีต่อความโปรดเหล่านี้ทำให้พวกเขาเกิดการเฉยเมยต่อมัน

• سفه عقول المشركين حين يدعون أصنامًا لا تسمع ولا تعقل.
ความโง่เขลาของพวกที่ตั้งภาคี เมื่อพวกเขาวอนขอต่อสิ่งที่ไม่ได้ยินและไม่ตอบสนองได้

• الافتقار إلى الله صفة لازمة للبشر، والغنى صفة كمال لله.
การพึ่งพาอัลลอฮ์เป็นลักษณะที่จำเป็นของมนุษย์ ในขณะที่ความมั่งคั่งเป็นลักษณะแห่งความสมบูรณ์แบบสำหรับพระเจ้า

• تزكية النفس عائدة إلى العبد؛ فهو يحفظها إن شاء أو يضيعها.
การขัดเกลาตนเองนั้นจะกลับไปยังบ่าว ดังนั้นถ้าเขาต้องการก็จงรักษามัน หรือไม่ก็ไม่ต้องสนใจมัน

 
Tradução dos significados Versículo: (12) Surah: Suratu Fatir
Índice de capítulos Número de página
 
Tradução dos significados do Nobre Qur’an. - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - Índice de tradução

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

Fechar