Përkthimi i kuptimeve të Kuranit Fisnik - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - Përmbajtja e përkthimeve


Përkthimi i kuptimeve Ajeti: (185) Surja: Suretu El A’raf
أَوَلَمۡ يَنظُرُواْ فِي مَلَكُوتِ ٱلسَّمَٰوَٰتِ وَٱلۡأَرۡضِ وَمَا خَلَقَ ٱللَّهُ مِن شَيۡءٖ وَأَنۡ عَسَىٰٓ أَن يَكُونَ قَدِ ٱقۡتَرَبَ أَجَلُهُمۡۖ فَبِأَيِّ حَدِيثِۭ بَعۡدَهُۥ يُؤۡمِنُونَ
พวกเขาไม่ได้พิจารณาถึงอำนาจของอัลลอฮ์แห่งชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดิน ไม่พิจารณาถึงสิ่งที่ถูกสร้างทั้งหลาย เช่นสัตว์ต่างๆ พืช และอื่นๆและไม่พิจารณาถึงวาระสุดท้ายของชีวิตของพวกเขาบ้างหรือ ซึ่งบางทีมันอาจใกล้เข้ามา เพื่อจะได้กลับเนื้อกลับใจก่อนที่มันจะสายเกินไป ดังนั้นหากพวกเขาไม่ศรัทธาต่ออัลกุรอานและสิ่งที่มีในนั้นจะเป็นสัญญาดีและสัญญาร้าย แล้วจะมีคำภีร์ใด อื่นจากอัลกุรฺอาน ที่พวกเขาจะศรัทธา?!
Tefsiret në gjuhën arabe:
Dobitë e ajeteve të kësaj faqeje:
• خلق الله للبشر آلات الإدراك والعلم - القلوب والأعين والآذان - لتحصيل المنافع ودفع المضار.
อัลลอฮ์ได้ทรงสร้างอวัยวะในการรับรู้ให้แก่มนุษย์ เช่น หัวใจ ตา และหู เพื่อเป็นการเก็บเกี่ยวในสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ตัวเองและป้องกันตัวจากสิ่งที่เป็นอันตราย

• الدعاء بأسماء الله الحسنى سبب في إجابة الدعاء، فيُدْعَى في كل مطلوب بما يناسب ذلك المطلوب، مثل: اللهمَّ تب عَلَيَّ يا تواب.
การวิงวอนด้วยการใช้พระนามอันสวยงามของอัลลอฮ์เป็นสื่อ(ตะวัสสุล) เป็นสาเหตุหนึ่งที่จะทำให้การวิงวอนนั้นถูกตอบรับ ดังนั้น ควรเลือกพระนามที่มันสอดคล้องกับสถานะของการขอพร เช่น โอ้อัลลอฮ์ ผู้ทรงให้อภัย จงให้อภัยแก่ข้าพระองค์ด้วยเถิด

• التفكر في عظمة السماوات والأرض، والتوصل بهذا التفكر إلى أن الله تعالى هو المستحق للألوهية دون غيره؛ لأنه المنفرد بالصنع.
การใคร่ครวญในความยิ่งใหญ่ของชั้นฟ้าและแผ่นดิน และการเข้าถึงด้วยการใคร่ครวญนี้ว่า อัลลอฮฺคือพระองค์เดียวที่สมควรอย่างยิ่งต่อการเป็นพระเจ้าที่ควรแก่การกราบไว้ โดยไม่มีสิ่งอื่นใดมาเทียบเท่าพระองค์ เพราะพระองค์ทรงเป็นผู้สร้างแต่เพียงองค์เดียว

 
Përkthimi i kuptimeve Ajeti: (185) Surja: Suretu El A’raf
Përmbajtja e sureve Numri i faqes
 
Përkthimi i kuptimeve të Kuranit Fisnik - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - Përmbajtja e përkthimeve

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

Mbyll