పవిత్ర ఖురాన్ యొక్క భావార్థాల అనువాదం - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - అనువాదాల విషయసూచిక


భావార్ధాల అనువాదం వచనం: (107) సూరహ్: సూరహ్ యూసుఫ్
أَفَأَمِنُوٓاْ أَن تَأۡتِيَهُمۡ غَٰشِيَةٞ مِّنۡ عَذَابِ ٱللَّهِ أَوۡ تَأۡتِيَهُمُ ٱلسَّاعَةُ بَغۡتَةٗ وَهُمۡ لَا يَشۡعُرُونَ
บรรดามุชริกีนผู้ตั้งภาคีต่ออัลลอฮฺจะปลอดภัยกระนั้นหรือ เมื่อการลงโทษได้มายังพวกเขาในโลกดุนยาโดยปกคลุมเหนือพวกเขาซึ่งพวกเขาไม่สามารถยับยั้งมันได้ หรือเมื่ิิอวันสิ้นโลกได้มายังพวกเขาอย่างฉับพลัน โดยที่พวกเขาไม่รู้สึกตัวว่ามันจะมา เพื่อที่จะได้เตรียมตัวรับมือกับมัน ด้วยเหตุนี้หรือที่พวกเขาไม่ศรัทธา?!
అరబీ భాషలోని ఖుర్ఆన్ వ్యాఖ్యానాలు:
ఈ పేజీలోని వచనాల ద్వారా లభించే ప్రయోజనాలు:
• أن الداعية لا يملك تصريف قلوب العباد وحملها على الطاعات، وأن أكثر الخلق ليسوا من أهل الهداية.
•ผู้เผยแพร่ศาสนาไม่สามารถครอบครองการเปลี่ยนแปลงจิตใจของผู้เป็นบ่าวและบังคับให้เขาต้องเชื่อฟัง และมนุษย์ส่วนใหญ่มิใช่ผู้ที่ได้รับทางนำ

• ذم المعرضين عن آيات الله الكونية ودلائل توحيده المبثوثة في صفحات الكون.
•เป็นการตำหนิติเตียนผู้ที่หันหลังไม่ใคร่ครวญสัญญาณต่างๆ ของอัลลอฮฺที่บ่งชี้ถึงความเป็นเอกภาพของพระองค์ที่กระจัดกระจายในบรรดาชั้นฟ้าและแผ่นดิน

• شملت هذه الآية ﴿ قُل هَذِهِ سَبِيلِي...﴾ ذكر بعض أركان الدعوة، ومنها: أ- وجود منهج:﴿ أَدعُواْ إِلَى اللهِ ﴾. ب - ويقوم المنهج على العلم: ﴿ عَلَى بَصِيرَةٍ﴾. ج - وجود داعية: ﴿ أَدعُواْ ﴾ ﴿أَنَا﴾. د - وجود مَدْعُوِّين: ﴿ وَمَنِ اتَّبَعَنِي ﴾.
•อายะฮฺ (قُلۡ هَٰذِهِۦ سَبِيلِي) ได้รวบรวมหลักการดะอฺวะฮฺ (การเผยแพร่) ไว้บางประการ เช่น 1- มีหลักสูตร 2- มีหลักสูตรที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้ 3- มีผู้เผยแพร่ 4- มีกลุ่มเป้าหมาย

 
భావార్ధాల అనువాదం వచనం: (107) సూరహ్: సూరహ్ యూసుఫ్
సూరాల విషయసూచిక పేజీ నెంబరు
 
పవిత్ర ఖురాన్ యొక్క భావార్థాల అనువాదం - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - అనువాదాల విషయసూచిక

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

మూసివేయటం