పవిత్ర ఖురాన్ యొక్క భావార్థాల అనువాదం - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - అనువాదాల విషయసూచిక


భావార్ధాల అనువాదం వచనం: (32) సూరహ్: సూరహ్ ఇబ్రాహీమ్
ٱللَّهُ ٱلَّذِي خَلَقَ ٱلسَّمَٰوَٰتِ وَٱلۡأَرۡضَ وَأَنزَلَ مِنَ ٱلسَّمَآءِ مَآءٗ فَأَخۡرَجَ بِهِۦ مِنَ ٱلثَّمَرَٰتِ رِزۡقٗا لَّكُمۡۖ وَسَخَّرَ لَكُمُ ٱلۡفُلۡكَ لِتَجۡرِيَ فِي ٱلۡبَحۡرِ بِأَمۡرِهِۦۖ وَسَخَّرَ لَكُمُ ٱلۡأَنۡهَٰرَ
อัลลอฮฺคือผู้สร้างชั้นฟ้าทั้งหลายและแผ่นดินโดยไม่มีต้นแบบมาก่อน ทรงให้น้ำฝนลงมาจากฟากฟ้า แล้วให้พืชผลต่างๆ งอกเงยออกมาจากน้ำดังกล่าว เพื่อเป็นปัจจัยยังชีพแก่พวกเจ้า ทรงให้เรือเดินสมุทรอำนวยความสะดวกแก่พวกเจ้าโดยการแล่นในท้องทะเลตามกำหนดการของพระองค์ และทรงให้ธารน้ำทั้งหลายเป็นประโยชน์แก่พวกเจ้าในการใช้ดื่ม ให้น้ำสัตว์ และรดน้ำพืชผลต่างๆ
అరబీ భాషలోని ఖుర్ఆన్ వ్యాఖ్యానాలు:
ఈ పేజీలోని వచనాల ద్వారా లభించే ప్రయోజనాలు:
• تشبيه كلمة الكفر بشجرة الحَنْظل الزاحفة، فهي لا ترتفع، ولا تنتج طيبًا، ولا تدوم.
เปรียบเทียบคำพูดแห่งการปฏิเสธศรัทธาเป็นดั่งพืชล้มลุกตระกูลลูกน้ำเต้า ซึ่งมันจะไม่สูงขึ้น ไม่ออกผลที่ดี และไม่คงนาน

• الرابط بين الأمر بالصلاة والزكاة مع ذكر الآخرة هو الإشعار بأنهما مما تكون به النجاة يومئذ.
ความสัมพันธ์ระหว่างคำสั่งที่ใช้ให้ละหมาดกับคำสั่งให้จ่ายซะกาตพร้อมกับการกล่าวถึงวันอาคิเราะฮ์นั้น คือให้รู้สึกว่าทั้งสองอย่างนั้นเป็นสิ่งที่ทำให้รอดจากการลงโทษในวันนั้น

• تعداد بعض النعم العظيمة إشارة لعظم كفر بعض بني آدم وجحدهم نعمه سبحانه وتعالى .
การกล่าวถึงความโปรดปรานที่ยิ่งใหญ่บางประการเป็นการชี้ให้เห็นถึงความใหญ่หลวงของการปฏิเสธของลูกหลานอาดัมบางคนและชี้ให้เห็นถึงการไม่ยอมรับของพวกเขาต่อความโปรดปรานของพระองค์ผู้ทรงมหาบริสุทธิ์ผู้สูงส่งยิ่ง

 
భావార్ధాల అనువాదం వచనం: (32) సూరహ్: సూరహ్ ఇబ్రాహీమ్
సూరాల విషయసూచిక పేజీ నెంబరు
 
పవిత్ర ఖురాన్ యొక్క భావార్థాల అనువాదం - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - అనువాదాల విషయసూచిక

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

మూసివేయటం