పవిత్ర ఖురాన్ యొక్క భావార్థాల అనువాదం - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - అనువాదాల విషయసూచిక


భావార్ధాల అనువాదం వచనం: (150) సూరహ్: సూరహ్ అన్-నిసా
إِنَّ ٱلَّذِينَ يَكۡفُرُونَ بِٱللَّهِ وَرُسُلِهِۦ وَيُرِيدُونَ أَن يُفَرِّقُواْ بَيۡنَ ٱللَّهِ وَرُسُلِهِۦ وَيَقُولُونَ نُؤۡمِنُ بِبَعۡضٖ وَنَكۡفُرُ بِبَعۡضٖ وَيُرِيدُونَ أَن يَتَّخِذُواْ بَيۡنَ ذَٰلِكَ سَبِيلًا
แท้จริงบรรดาผู้ปฏิเสธศรัทธาต่ออัลลอฮ์และต่อบรรดาเราะสูลของพระองค์ และยังต้องการให้เกิดความแตกต่างระหว่างอัลลอฮ์กับบรรดาเราะสูลของพระองค์ด้วยการศรัทธาต่อพระองค์และปฏิเสธศรัทธาต่อบรรดาเราะสูล โดยที่พวกเขากล่าวว่า เราจะศรัทธาต่อเราะสูลบางคนและปฏิเสธการศรัทธาต่อบรรดาเราะสูลอีกบางคน พร้อมกันนั้นพวกเขาต้องการ (จากคำพูดของพวกเขา) เพื่อยึดเป็นทางสายกลางระหว่างการปฏิเสธกับการศรัทธา โดยที่พวกเขาคิดว่ามันสามารถช่วยเหลือให้พวกเขาปลอดภัยได้
అరబీ భాషలోని ఖుర్ఆన్ వ్యాఖ్యానాలు:
ఈ పేజీలోని వచనాల ద్వారా లభించే ప్రయోజనాలు:
• يجوز للمظلوم أن يتحدث عن ظلمه وظالمه لمن يُرْجى منه أن يأخذ له حقه، وإن قال ما لا يسر الظالم.
•อนุญาตให้ผู้ที่ถูกอธรรมพูดเกี่ยวกับการอธรรมที่ตนเองได้รับและผู้ที่อธรรมต่อตัวเขา หากเขาหวังว่าเขาสามารถรับสิทธิของเขาคืนมาได้ ถึงแม้ว่าเขาจะพูดในสิ่งที่ผู้อธรรมไม่สุขใจก็ตาม

• حض المظلوم على العفو - حتى وإن قدر - كما يعفو الرب - سبحانه - مع قدرته على عقاب عباده.
•ส่งเสริมให้ผู้ที่ถูกอธรรมยกโทษให้อภัย ถึงแม้ว่าเขาจะมีความสามารถ (รับสิทธิคืน) ก็ตาม ดังที่พระองค์อัลลอฮฺยกโทษให้อภัย ทั้งๆ ที่พระองค์มีความสามารถที่จะลงโทษบ่าวของพระองค์

• لا يجوز التفريق بين الرسل بالإيمان ببعضهم دون بعض، بل يجب الإيمان بهم جميعًا.
•ไม่อนุญาตให้เกิดความแตกต่างระหว่างเราะสูลท่านหนึ่งกับอีกท่านหนึ่ง โดยศรัทธาต่อบางคนและปฏิเสธอีกบางคน แต่ต้องศรัทธาต่อพวกเขาทั้งหมด

 
భావార్ధాల అనువాదం వచనం: (150) సూరహ్: సూరహ్ అన్-నిసా
సూరాల విషయసూచిక పేజీ నెంబరు
 
పవిత్ర ఖురాన్ యొక్క భావార్థాల అనువాదం - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - అనువాదాల విషయసూచిక

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

మూసివేయటం