పవిత్ర ఖురాన్ యొక్క భావార్థాల అనువాదం - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - అనువాదాల విషయసూచిక


భావార్ధాల అనువాదం వచనం: (7) సూరహ్: సూరహ్ అన్-నిసా
لِّلرِّجَالِ نَصِيبٞ مِّمَّا تَرَكَ ٱلۡوَٰلِدَانِ وَٱلۡأَقۡرَبُونَ وَلِلنِّسَآءِ نَصِيبٞ مِّمَّا تَرَكَ ٱلۡوَٰلِدَانِ وَٱلۡأَقۡرَبُونَ مِمَّا قَلَّ مِنۡهُ أَوۡ كَثُرَۚ نَصِيبٗا مَّفۡرُوضٗا
สำหรับบรรดาผู้ชายนั้น มีส่วนได้รับจากสิ่งที่บิดามารดาและบรรดาญาติที่ใกล้ชิด เช่น พี่น้องและลุงได้ทิ้งไว้ภายหลังจากที่พวกเขาเสียชีวิต จะได้น้อยหรือจะได้มากก็ตาม และสำหรับบรรดาผู้หญิงนั้น ก็มีส่วนได้รับจากสิ่งที่พวกเขาเหล่านั้นได้ทิ้งไว้เช่นเดียวกัน ซึ่งจะต่างกับยุคสมัยงมงาย(อัลญาฮิลียะฮ์)ที่ห้ามสิทธิของบรรดาผู้หญิงและเด็ก ๆ จากกองมรดก โดยส่วนแบ่ง(มรดก)นี้คือสิทธิที่ได้ถูกแจกแจงอัตราและได้ถูกกำหนดไว้แล้วจากอัลลอฮ์ ตะอาลา
అరబీ భాషలోని ఖుర్ఆన్ వ్యాఖ్యానాలు:
ఈ పేజీలోని వచనాల ద్వారా లభించే ప్రయోజనాలు:
• دلت أحكام المواريث على أن الشريعة أعطت الرجال والنساء حقوقهم مراعية العدل بينهم وتحقيق المصلحة بينهم.
บทบัญญัติว่าด้วยมรดกชี้ให้เห็นว่า แท้จริงศาสนาอิสลามได้ให้สิทธิต่าง ๆ ของผู้ชายและผู้หญิงโดยคำนึงถึงความเป็นธรรม และเพื่อบรรลุถึงผลประโยชน์ของพวกเขา

• التغليظ الشديد في حرمة أموال اليتامى، والنهي عن التعدي عليها، وعن تضييعها على أي وجه كان.
ทรัพย์สมบัติเด็กกำพร้าเป็นที่ฮะรอม เป็นที่ต้องห้ามการละเมิดในสิทธิของพวกเขาอย่างเด็ดขาด และการสร้างความเสียหายโดยขาดการค้มครองที่ดี ไม่ว่าจะด้วยวิธีการใดก็ตาม

• لما كان المال من أكثر أسباب النزاع بين الناس تولى الله تعالى قسمته في أحكام المواريث.
เนื่องจากทรัพย์สมบัติเป็นเหตุสำคัญอันใหญ่ลวงที่ก่อความขัดแย้งระหว่างมนุษย์ทั้งหลายดังนั้น เพื่อเป็นการตัดปัญหา เอกองค์อัลลอฮ์จึงได้กำหนดบทบัญญัติการแบ่งทรัพย์สินมรดกไว้อย่างชัดเจน

 
భావార్ధాల అనువాదం వచనం: (7) సూరహ్: సూరహ్ అన్-నిసా
సూరాల విషయసూచిక పేజీ నెంబరు
 
పవిత్ర ఖురాన్ యొక్క భావార్థాల అనువాదం - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - అనువాదాల విషయసూచిక

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

మూసివేయటం