Қуръони Карим маъноларининг таржимаси - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - Таржималар мундарижаси


Маънолар таржимаси Оят: (99) Сура: Моида сураси
مَّا عَلَى ٱلرَّسُولِ إِلَّا ٱلۡبَلَٰغُۗ وَٱللَّهُ يَعۡلَمُ مَا تُبۡدُونَ وَمَا تَكۡتُمُونَ
หน้าที่ของเราะซูลนั้นมิใช่อะไรอื่น นอกจากการประกาศให้ทราบถึงสิ่งที่อัลลอฮฺได้ทรงสั่งใช้ให้เขานั้นประกาศมันเพียงเท่านั้น เขาไม่ได้มีหน้าที่ทำให้มนุษย์นั้นบรรลุไปสู่ทางนำ ดังนั้นเรื่องนี้มันขึ้นอยู่กับพระหัตของอัลลอฮฺเพียงผู้เดียว และอัลลอฮฺทรงรู้สิ่งที่พวกเจ้าเปิดเผยมัน และสิ่งที่พวกเจ้าปกปิดมันจากสิ่งที่ถูกต้องหรือหลงผิด และพระองค์ก็จะทรงตอบแทนพวกเจ้าสำหรับสิ่งนั้น
Арабча тафсирлар:
Ушбу саҳифадаги оят фойдаларидан:
• الأصل في شعائر الله تعالى أنها جاءت لتحقيق مصالح العباد الدنيوية والأخروية، ودفع المضار عنهم.
รากฐานอันสำคัญในบทบัญญัติของอัลลอฮฺ ตะอาลา คือ เพื่อให้บรรลุผลประโยชน์ของปวงบ่าวทั้งในโลกนี้และก็โลกหน้า และปกป้องภยันตรายให้ห่างพ้นจากพวกเขา

• عدم الإعجاب بالكثرة، فإنّ كثرة الشيء ليست دليلًا على حِلِّه أو طِيبه، وإنما الدليل يكمن في الحكم الشرعي.
อย่าได้อวดดีกับจำนวนมาก เพราะแท้จริงแล้วจำนวนมากนั้นไม่ได้บ่งบอกถึงความดีงาม หรือ เป็นที่ฮะลาล เพราะแท้จริงแล้วหลักฐานฮะลาลและความดีงามนั้นขึ้นอยู่กับบทบัญญัติแห่งอิสลามเท่านั้น

• من أدب المُسْتفتي: تقييد السؤال بحدود معينة، فلا يسوغ السؤال عما لا حاجة للمرء ولا غرض له فيه.
จากมารยาทของผู้ที่ขอรับคำวินิจฉัยคำตอบทางด้านศาสนา : จำกัดหรือตั้งคำถามอย่างมีขอบเขตที่ชัดเจน แล้วอย่าได้ทำให้คำถามนั้นเป็นที่ยุ่งยากเกินกว่าจำเป็น หรือไม่มีจุดมุ่งหมายใด

• ذم مسالك المشركين فيما اخترعوه وزعموه من محرمات الأنعام ك: البَحِيرة، والسائبة، والوصِيلة، والحامي.
เป็นที่ตำหนิซึ่งเส้นทางเดินของบรรดาผู้ที่ตั้งภาคีในสิ่งที่พวกเขานั้นได้ดัดแปลงคิดค้นมันขึ้นมาเอง และอ้างว่าเป็นสัตว์ที่ต้องห้าม เช่น อัล-บะฮีเราะฮฺ อัล-สาอิบะฮฺ อัล-วะศีละฮฺ และอัล-ฮามียฺ เป็นต้น

 
Маънолар таржимаси Оят: (99) Сура: Моида сураси
Суралар мундарижаси Бет рақами
 
Қуръони Карим маъноларининг таржимаси - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - Таржималар мундарижаси

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

Ёпиш