ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - فهرس التراجم


ترجمة معاني آية: (226) سورة: البقرة
لِّلَّذِينَ يُؤۡلُونَ مِن نِّسَآئِهِمۡ تَرَبُّصُ أَرۡبَعَةِ أَشۡهُرٖۖ فَإِن فَآءُو فَإِنَّ ٱللَّهَ غَفُورٞ رَّحِيمٞ
226-สำหรับบรรดาผู้ที่สาบานว่า จะไม่สมสู่ภรรยาของเขานั้น ให้มีการรอคอยไว้ไม่เกินสี่เดือน เริ่มจากวันที่พวกเขาได้สาบาน ซึ่งเป็นที่รู้จักกันในชื่อ (อัลอีลาอ์) แล้วถ้าหากพวกเขากลับสมสู่ภรรยาของพวกเขาหลังจากที่ได้สาบานว่าจะไม่สมสู่เป็นเวลาสี่เดือนหรือน้อยกว่านั้น แท้จริงอัลลอฮ์เป็นผู้ทรงอภัยเสมอ ทรงอภัยในสิ่งที่ได้เกิดขึ้นจากพวกเขา และพระองค์เป็นผู้ทรงเมตตาพวกเขาเสมอโดยที่กำหนดให้จ่ายค่าชดเชย(กัฟฟาเราะฮ์)ซึ่งสิ่งนี้เป็นทางออกของคนที่ได้สาบานไว้
التفاسير العربية:
من فوائد الآيات في هذه الصفحة:
• بيَّن الله تعالى أحكام النكاح والطلاق بيانًا شاملًا حتى يعرف الناس حدود الحلال والحرام فلا يتجاوزونها.
อัลลอฮ์ ตะอาลาทรงแจกแจงบทบัญญัติเรื่องการแต่งงานและการหย่าร้างอย่างครบถ้วนสมบูรณ์ จนทำให้ผู้คนได้รู้ถึงขอบเขตที่หะลาล(ที่อนุมัติ)และหะรอม(ที่ต้องห้าม) เพื่อพวกเขาจะได้ไม่ละเมิดมัน

• عظَّم الله شأن النكاح وحرم التلاعب فيه بالألفاظ فجعلها ملزمة، وألغى التلاعب بكثرة الطلاق والرجعة فجعل لها حدًّا بطلقتين رجعيتين ثم تحرم عليه إلا أن تنكح زوجا غيره ثم يطلقها، أو يموت عنها.
อัลลอฮ์ ตะอาลาทรงให้ความสำคัญในเรื่องการแต่งงานและไม่อนุญาตให้มีการหยอกล้อกันด้วยคำพูดต่าง ๆ ที่จะทำให้มันกลายเป็นจริง ดังนั้นจึงยกเลิกการหยอกล้อกันในเรื่องการหย่าและการคืนดีกันหลาย ๆ ครั้ง จึงกำหนดกฎเกณฑ์ในการหย่าที่สามารถคืนดีได้นั้นได้แค่สองครั้งเท่านั้น หลังจากนั้นก็จะไม่เป็นที่อนุญาตแก่เขาอีก จนกว่านางจะแต่งงานกับชายอื่น แล้วสามีคนที่สองนั้นได้หย่านาง

• المعاشرة الزوجية تكون بالمعروف، فإن تعذر ذلك فلا بأس من الطلاق، ولا حرج على أحد الزوجين أن يطلبه.
การอยู่ร่วมกันสามีภรรยานั้นต้องอยู่ด้วยความชอบธรรม แต่ถ้าความชอบธรรมนั้นไม่เกิดขึ้น การหย่าร้างนั้นก็เป็นที่อนุญาตและไม่เป็นเรื่องบาปอะไร สำหรับคนใดคนหนึ่งที่เป็นสามีภรรยาที่จะขอหย่ากัน

 
ترجمة معاني آية: (226) سورة: البقرة
فهرس السور رقم الصفحة
 
ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - فهرس التراجم

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

إغلاق