ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - فهرس التراجم


ترجمة معاني آية: (252) سورة: البقرة
تِلۡكَ ءَايَٰتُ ٱللَّهِ نَتۡلُوهَا عَلَيۡكَ بِٱلۡحَقِّۚ وَإِنَّكَ لَمِنَ ٱلۡمُرۡسَلِينَ
252-โอ้นบีเอ๋ย นั้นแหละคือบรรดาโองการที่ชัดแจ้งของอัลลอฮฺซึ่งเราได้อ่านโองการเหล่านั้นให้เจ้าฟังที่ประกอบไปด้วยความจริงที่เกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ และประกอบด้วยความยุติธรรมด้านการตัดสิน และแท้จริงเจ้านั้นเป็นผู้หนึ่งในบรรดาเราะสูลทั้งหลาย จากผู้เป็นพระเจ้าแห่งสากลโลก
التفاسير العربية:
من فوائد الآيات في هذه الصفحة:
• من حكمة القائد أن يُعرِّض جيشه لأنواع الاختبارات التي يتميز بها جنوده ويعرف الثابت من غيره.
หนึ่งในความเฉลียวฉลาดของผู้นำคือการทดสอบทหารของเขาด้วยวิธีต่างๆ ที่สามารถแยกแยะทหารของเขาว่าผู้ใดเข็มแข็งและผู้ใดอ่อนแอ่

• العبرة في النصر ليست بمجرد كثرة العدد والعدة فقط، وإنما معونة الله وتوفيقه أعظم الأسباب للنصر والظَّفَر.
ความสำคัญของชัยชนะ ไม่ได้เกิดขึ้นด้วยแค่การมีจำนวนคนที่มากมายและอาวุธที่ใช้ในการสู้รบเท่านั้น แต่เป็นความช่วยเหลือจากอัลลอฮ์และความง่ายดายจากพระองค์เป็นเหตุผลที่ยิ่งใหญ่ที่สุดสำหรับความสำเร็จและชัยชนะ

• لا يثبت عند الفتن والشدائد إلا من عَمَرَ اليقينُ بالله قلوبَهم، فمثل أولئك يصبرون عند كل محنة، ويثبتون عند كل بلاء.
จะไม่เกืดการยืนหยัดเมื่อต้องเผชิญการทดสอบและความลำบากต่างๆเว้นเสียจากคนที่หัวใจของพวกเขานั้นมีความเชื่อมั่นต่ออัลลอฮ์ตลอดเวลา เหมือนกับชนเหล่านั้นที่อดทนต่อทุกความเจ็บปวดและยืนหยัดต่อทุกความทุกข์ยาก

• الضراعة إلى الله تعالى بقلب صادق متعلق به من أعظم أسباب إجابة الدعاء، ولا سيما في مواطن القتال.
ความอ่อนน้อมถ่อมตนและการยอมจำนนต่ออัลลอฮ์ -ตาอาลา- ด้วยหัวใจที่จริงใจและการพึ่งพาพระองค์เป็นสาเหตุที่สำคัญในการตอบรับคำวิงวอน โดยเฉพาะเมืออยู่ในสนามรบ

• من سُنَّة الله تعالى وحكمته أن يدفع شر بعض الخلق وفسادهم في الأرض ببعضهم.
หนึ่งในวิถีของอัลลอฮ์ ตะอาลา และความปรีชาญานของพระองค์นั้นคือการปกป้องบางคนจากความชั่วร้ายและการก่อความเสียหายบนพื้นดินของพวกเขาโดยบางคนในหมู่พวกเขา

 
ترجمة معاني آية: (252) سورة: البقرة
فهرس السور رقم الصفحة
 
ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - فهرس التراجم

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

إغلاق