ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - فهرس التراجم


ترجمة معاني آية: (36) سورة: البقرة
فَأَزَلَّهُمَا ٱلشَّيۡطَٰنُ عَنۡهَا فَأَخۡرَجَهُمَا مِمَّا كَانَا فِيهِۖ وَقُلۡنَا ٱهۡبِطُواْ بَعۡضُكُمۡ لِبَعۡضٍ عَدُوّٞۖ وَلَكُمۡ فِي ٱلۡأَرۡضِ مُسۡتَقَرّٞ وَمَتَٰعٌ إِلَىٰ حِينٖ
แล้วชัยฏอนนั้นก็ยังคงกระซิบและล่อลวงเขาทั้งสอง จนกระทั่งทำให้เขาทั้งสองนั้นตกอยู่ในการกระทำความชั่วและการทำผิด ด้วยการไปบริโภคจากต้นไม้ต้นนั้นที่อัลลอฮฺได้ทรงห้ามปรามเขาทั้งสองมิให้บริโภคมัน แล้วผลพวงที่ตามมาสำหรับเขาทั้งสองนั้น คือ อัลลอฮฺได้ทรงทำให้ทั้งสองออกจากสรวงสวรรค์ที่เขาทั้งสองเคยพำนักอยู่ และอัลลอฮฺก็ได้ตรัสแก่เขาทั้งสองและแก่ชัยฏอนว่า : พวกเจ้าจงลงไปยังผืนแผ่นดินเถิด โดยที่บางส่วนของพวกเจ้าต่างเป็นศัตรูต่อกัน และสำหรับพวกเจ้ามีที่พำนักในผืนแผ่นดินนั้น ที่ปักหลัก และมีความเพลิดเพลินกับสิ่งที่อยู่ในนั้นจากสิ่งอำนวยประโยชน์ต่างๆ จนกว่าอายุของพวกเจ้าจะจบลง และจนถึงวันกิยามะฮฺ
التفاسير العربية:
من فوائد الآيات في هذه الصفحة:
• الواجب على المؤمن إذا خفيت عليه حكمة الله في بعض خلقه وأَمْرِهِ أن يسلِّم لله في خلقه وأَمْرِهِ.
สิ่งที่จำเป็นสำหรับผู้ศรัทธาคือ การจำนนต่ออัลลอฮ์ในการสร้างและการบัญญัติของพระองค์ แม้การสร้างและการบัญญัตินั้นจะไม่ประจักษ์ถึงเหตุผลหรือวิทยปัญญาของมันก็ตาม

• رَفَعَ القرآن الكريم منزلة العلم، وجعله سببًا للتفضيل بين الخلق.
อัลกุรอานได้ยกฐานะของความรู้ และได้ทำให้มันเป็นสาเหตุในการยกระดับความต่างระหว่างมนุษย์

• الكِبْرُ هو رأس المعاصي، وأساس كل بلاء ينزل بالخلق، وهو أول معصية عُصِيَ الله بها.
การอวดใหญ่อวดโต คือ หัวใจหลักของความผิดทั้งหลาย และเป็นรากฐานของทุกๆ ภัยที่ลงมา และมันคือความผิดแรกที่เป็นการเนรคุณต่ออัลลอฮฺ

 
ترجمة معاني آية: (36) سورة: البقرة
فهرس السور رقم الصفحة
 
ترجمة معاني القرآن الكريم - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - فهرس التراجم

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

إغلاق