ශුද්ධවූ අල් කුර්ආන් අර්ථ කථනය - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - පරිවර්තන පටුන


අර්ථ කථනය වාක්‍යය: (100) පරිච්ඡේදය: සූරා අල් මාඉදා
قُل لَّا يَسۡتَوِي ٱلۡخَبِيثُ وَٱلطَّيِّبُ وَلَوۡ أَعۡجَبَكَ كَثۡرَةُ ٱلۡخَبِيثِۚ فَٱتَّقُواْ ٱللَّهَ يَٰٓأُوْلِي ٱلۡأَلۡبَٰبِ لَعَلَّكُمۡ تُفۡلِحُونَ
จงกล่าวเถิด โอ้ท่านเราะซูล ว่าสิ่งเลวทรามจากทุกทั่วสารทิศกับสิ่งดีจากทุกทั่วสารทิศนั้นย่อมไม่เท่าเทียมกัน และแม้ว่าความมากมายของสิ่งชั่วนั้น ได้ทำให้ท่านประทับใจก็ตาม แท้จริงแล้วความมากมายของมันนั้นมิได้ชี้ให้เห็นถึงความประเสริฐของมันเลย จงยำเกรงอัลลอฮฺเถิด โอ้ผู้มีสติปัญญาทั้งหลาย โดยการละทิ้งสิ่งที่เลวทรามและปฏิบัติสิ่งที่ดี เพื่อว่าพวกเจ้าจะได้รับชัยชนะด้วยสวนสวรรค์
අල්කුර්ආන් අරාබි අර්ථ විවරණ:
මෙ⁣ම පිටුවේ තිබෙන වැකිවල ප්‍රයෝජන:
• الأصل في شعائر الله تعالى أنها جاءت لتحقيق مصالح العباد الدنيوية والأخروية، ودفع المضار عنهم.
รากฐานอันสำคัญในบทบัญญัติของอัลลอฮฺ ตะอาลา คือ เพื่อให้บรรลุผลประโยชน์ของปวงบ่าวทั้งในโลกนี้และก็โลกหน้า และปกป้องภยันตรายให้ห่างพ้นจากพวกเขา

• عدم الإعجاب بالكثرة، فإنّ كثرة الشيء ليست دليلًا على حِلِّه أو طِيبه، وإنما الدليل يكمن في الحكم الشرعي.
อย่าได้อวดดีกับจำนวนมาก เพราะแท้จริงแล้วจำนวนมากนั้นไม่ได้บ่งบอกถึงความดีงาม หรือ เป็นที่ฮะลาล เพราะแท้จริงแล้วหลักฐานฮะลาลและความดีงามนั้นขึ้นอยู่กับบทบัญญัติแห่งอิสลามเท่านั้น

• من أدب المُسْتفتي: تقييد السؤال بحدود معينة، فلا يسوغ السؤال عما لا حاجة للمرء ولا غرض له فيه.
จากมารยาทของผู้ที่ขอรับคำวินิจฉัยคำตอบทางด้านศาสนา : จำกัดหรือตั้งคำถามอย่างมีขอบเขตที่ชัดเจน แล้วอย่าได้ทำให้คำถามนั้นเป็นที่ยุ่งยากเกินกว่าจำเป็น หรือไม่มีจุดมุ่งหมายใด

• ذم مسالك المشركين فيما اخترعوه وزعموه من محرمات الأنعام ك: البَحِيرة، والسائبة، والوصِيلة، والحامي.
เป็นที่ตำหนิซึ่งเส้นทางเดินของบรรดาผู้ที่ตั้งภาคีในสิ่งที่พวกเขานั้นได้ดัดแปลงคิดค้นมันขึ้นมาเอง และอ้างว่าเป็นสัตว์ที่ต้องห้าม เช่น อัล-บะฮีเราะฮฺ อัล-สาอิบะฮฺ อัล-วะศีละฮฺ และอัล-ฮามียฺ เป็นต้น

 
අර්ථ කථනය වාක්‍යය: (100) පරිච්ඡේදය: සූරා අල් මාඉදා
සූරා පටුන පිටු අංක
 
ශුද්ධවූ අල් කුර්ආන් අර්ථ කථනය - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - පරිවර්තන පටුන

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

වසන්න