ශුද්ධවූ අල් කුර්ආන් අර්ථ කථනය - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - පරිවර්තන පටුන


අර්ථ කථනය වාක්‍යය: (101) පරිච්ඡේදය: සූරා අල් මාඉදා
يَٰٓأَيُّهَا ٱلَّذِينَ ءَامَنُواْ لَا تَسۡـَٔلُواْ عَنۡ أَشۡيَآءَ إِن تُبۡدَ لَكُمۡ تَسُؤۡكُمۡ وَإِن تَسۡـَٔلُواْ عَنۡهَا حِينَ يُنَزَّلُ ٱلۡقُرۡءَانُ تُبۡدَ لَكُمۡ عَفَا ٱللَّهُ عَنۡهَاۗ وَٱللَّهُ غَفُورٌ حَلِيمٞ
โอ้บรรดาผู้ศรัทธาทั้งหลาย พวกเจ้าอย่าถามเราะสูลของพวกเจ้า ถึงสิ่งต่าง ๆ ที่มันไม่ได้มีความจำเป็นสำหรับพวกเจ้าเลย และมันก็ไม่ใช่สิ่งที่จะทำให้ศาสนาของพวกเจ้าดีขึ้น หากสิ่งเหล่านี้ปรากฎขึ้นแก่พวกเจ้าแล้ว มันจะก่อให้เกิดความเลวร้ายแก่พวกเจ้า เนื่องด้วยความยากลำบากที่มีในสิ่งนั้น ถ้าพวกเจ้าถามถึงสิ่งเหล่านั้น ทั้งที่พวกเจ้าได้ถูกห้ามไม่ให้ถามถึงมัน ขณะที่วะฮ์ยู (อัล-กุรอาน) ถูกประทานลงมาแก่ท่านเราะสูล มันก็จะถูกเปิดเผยขึ้นแก่พวกเจ้า และสิ่งนี้เป็นเรื่องที่ง่ายดายสำหรับอัลลอฮ์ แท้จริงอัลลอฮ์นั้นได้ทรงละเว้นสิ่งต่าง ๆ ที่อัลกุรอานมิได้พูดถึงมัน ดังนั้นพวกเจ้าอย่าได้ถามถึงมัน แล้วหากพวกเจ้าถามถึงมัน บทบัญญัติก็จะถูกประทานลงมาแก่พวกเจ้าตามบทบัญญัติที่เกี่ยวกับมัน และอัลลอฮ์คือผู้ทรงลบล้างบาปของบ่าวของพระองค์ เมื่อพวกเขาทำการกลับเนื้อกลับตัว โดยที่พระองค์ทรงยกโทษให้ในการลงโทษต่อพวกเขาด้วยสิ่งดั่งกล่าวนั้น
අල්කුර්ආන් අරාබි අර්ථ විවරණ:
මෙ⁣ම පිටුවේ තිබෙන වැකිවල ප්‍රයෝජන:
• الأصل في شعائر الله تعالى أنها جاءت لتحقيق مصالح العباد الدنيوية والأخروية، ودفع المضار عنهم.
รากฐานอันสำคัญในบทบัญญัติของอัลลอฮฺ ตะอาลา คือ เพื่อให้บรรลุผลประโยชน์ของปวงบ่าวทั้งในโลกนี้และก็โลกหน้า และปกป้องภยันตรายให้ห่างพ้นจากพวกเขา

• عدم الإعجاب بالكثرة، فإنّ كثرة الشيء ليست دليلًا على حِلِّه أو طِيبه، وإنما الدليل يكمن في الحكم الشرعي.
อย่าได้อวดดีกับจำนวนมาก เพราะแท้จริงแล้วจำนวนมากนั้นไม่ได้บ่งบอกถึงความดีงาม หรือ เป็นที่ฮะลาล เพราะแท้จริงแล้วหลักฐานฮะลาลและความดีงามนั้นขึ้นอยู่กับบทบัญญัติแห่งอิสลามเท่านั้น

• من أدب المُسْتفتي: تقييد السؤال بحدود معينة، فلا يسوغ السؤال عما لا حاجة للمرء ولا غرض له فيه.
จากมารยาทของผู้ที่ขอรับคำวินิจฉัยคำตอบทางด้านศาสนา : จำกัดหรือตั้งคำถามอย่างมีขอบเขตที่ชัดเจน แล้วอย่าได้ทำให้คำถามนั้นเป็นที่ยุ่งยากเกินกว่าจำเป็น หรือไม่มีจุดมุ่งหมายใด

• ذم مسالك المشركين فيما اخترعوه وزعموه من محرمات الأنعام ك: البَحِيرة، والسائبة، والوصِيلة، والحامي.
เป็นที่ตำหนิซึ่งเส้นทางเดินของบรรดาผู้ที่ตั้งภาคีในสิ่งที่พวกเขานั้นได้ดัดแปลงคิดค้นมันขึ้นมาเอง และอ้างว่าเป็นสัตว์ที่ต้องห้าม เช่น อัล-บะฮีเราะฮฺ อัล-สาอิบะฮฺ อัล-วะศีละฮฺ และอัล-ฮามียฺ เป็นต้น

 
අර්ථ කථනය වාක්‍යය: (101) පරිච්ඡේදය: සූරා අල් මාඉදා
සූරා පටුන පිටු අංක
 
ශුද්ධවූ අල් කුර්ආන් අර්ථ කථනය - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - පරිවර්තන පටුන

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

වසන්න