ශුද්ධවූ අල් කුර්ආන් අර්ථ කථනය - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم * - පරිවර්තන පටුන


අර්ථ කථනය වාක්‍යය: (37) පරිච්ඡේදය: සූරා අල් අන්ආම්
وَقَالُواْ لَوۡلَا نُزِّلَ عَلَيۡهِ ءَايَةٞ مِّن رَّبِّهِۦۚ قُلۡ إِنَّ ٱللَّهَ قَادِرٌ عَلَىٰٓ أَن يُنَزِّلَ ءَايَةٗ وَلَٰكِنَّ أَكۡثَرَهُمۡ لَا يَعۡلَمُونَ
และพวกตั้งภาคีที่พิถีพิถันพลัดวันประกันพรุ่งต่อการศรัทธาได้กล่าวว่า :ไฉนเล่าจึงไม่มีสัญญาณที่น่าอัศจรรย์ใดเลยที่ถูกประทานลงมาให้แก่มุฮัมมัด เพื่อเป็นหลักฐานยืนยันจากพระเจ้าของเขาบนความสัจจะของเขา ในสิ่งที่เขาได้นำมันมา? จงกล่าวเถิด โอ้เราะซูล แท้จริงอัลลอฮฺนั้นทรงสามารถที่จะให้สัญญาณหนึ่งลงมาตามที่พวกเขาต้องการได้ แต่ทว่าส่วนมากในหมู่พวกตั้งภาคีที่ขอต่อการประทานซึ่งสัญญาณเหล่านั้นไม่รู้ว่าการทำให้สัญญาณต่างๆนั้นลงมา มันจะต้องเป็นไปตามข้อซ่อนเร้นของพระองค์ผู้ที่สูงส่ง ไม่ใช่ต้องตรงต่อสิ่งที่พวกเขาต้องการมัน ดังนั้นหากมันได้ทำให้ถูกลงมาแล้ว จากนั้นพวกเขาก็ไม่ได้ศรัทธา แน่นอนพระองค์ก็จะทรงพินาศต่อพวกเขา
අල්කුර්ආන් අරාබි අර්ථ විවරණ:
මෙ⁣ම පිටුවේ තිබෙන වැකිවල ප්‍රයෝජන:
• تشبيه الكفار بالموتى؛ لأن الحياة الحقيقية هي حياة القلب بقَبوله الحق واتباعه طريق الهداية.
เปรียบเทียบผู้ปฏิเสธศรัทธาดังคนตาย เพราะว่าชีวิตที่แท้จริงนั้น คือ การมีชีวิตของหัวใจ โดยการยอมรับของมันต่อความจริง และการปฏิบัติตามของมันในหนทางที่อยู่ในทางนำ

• من حكمة الله تعالى في الابتلاء: إنزال البلاء على المخالفين من أجل تليين قلوبهم وردِّهم إلى ربهم.
หนึ่งในคติพจน์ของอัลลอฮฺ ตะอาลา ในการทดสอบคือ : การประทานบททดสอบลงมาแก่บรรดาผู้ฝ่าฝืน เพื่อเป็นการทำให้จิตใจของพวกเขาอ่อนลง และเป็นการกลับไปหาพระเจ้าของพวกเขา

• وجود النعم والأموال بأيدي أهل الضلال لا يدل على محبة الله لهم، وإنما هو استدراج وابتلاء لهم ولغيرهم.
การที่มีซึ่งความโปรดปรานและทรัพย์สินทั้งหลายอยู่ในมือของหมู่ผู้ที่หลงทางนั้น ไม่ได้ชี้วัดว่าอัลลอฮฺทรงรักพวกเขาเลย แต่ทว่ามัน คือ การล่อลวงและการทดสอบต่อพวกเขาและก็คนอื่น ๆ ด้วยต่างหาก

 
අර්ථ කථනය වාක්‍යය: (37) පරිච්ඡේදය: සූරා අල් අන්ආම්
සූරා පටුන පිටු අංක
 
ශුද්ධවූ අල් කුර්ආන් අර්ථ කථනය - الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم - පරිවර්තන පටුන

الترجمة التايلندية للمختصر في تفسير القرآن الكريم، صادر عن مركز تفسير للدراسات القرآنية.

වසන්න